วันนี้มีเอกสารจากทางไฟแนนซ์รถยนต์ บอกว่า พ.ร.บ. ของคุณใกล้หมดอายุแล้วให้รีบต่อกับไฟแนนซ์....
โดยมีค่า ต่อ พ.ร.บ. 1,080 บาท (รวมค่าธรรมเนียม) แต่เท่าที่หาข้อมูล ราคา พ.ร.บ. รถเก๋ง 1,500 cc น่าจะอยู่ 580 บาท
เท่ากับว่า ต้องเสียค่าธรรมเนียมถึง 500 บาท ซึ่งส่วนตัวคิดว่าก็แพงอยู่นะ ... เพื่อนๆมีวิธีการต่อ พ.ร.บ. วิธีไหนบ้าง
ที่ไม่โดนค่าธรรมเนียมแสนโหดกันบ้างค่ะ
เห็นบทความการต่อ พ.ร.บ. ออนไลน์นี้มา ไม่รู้ว่าเพื่อนมีความเห็นอย่างไรกันบ้างค่ะ
-------------------
บทความ
ปกติบริการการต่อพ.ร.บ.หรือทะเบียนรถยนต์ผ่าน Dealer ที่เราซื้อรถหรือไฟแนนซ์ ตัวแทน นายหน้าประกันรถยนต์ จะมีค่าธรรมเนียม 300-500เพิ่มจากค่าใช้จ่ายหลัก 2 ส่วน ดังนี้
1. ค่าต่อทะเบียน (ขึ้นอยู่กับประเภทรถและขนาดเครื่องยนต์ (ซีซี)
2. ค่า พ.ร.บ. เริ่มต้นที่ราคา 646 บาท (ขึ้นอยู่กับประเภทรถ)
ทั้งนี้ถ้าคุณไปต่อพ.ร.บ.และทะเบียนรถด้วยตัวเองก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้ 300-500 บาท และอาจมีข้อจำกัดอื่นๆ เช่น ต้องเสียเวลาเดินทางไปติดต่อด้วยตัวเอง หรือมีข้อจำกัดเรื่องเวลาทำการ
ปัจจุบันมีช่องทางการต่อพ.ร.บ.-ทะเบียนรถยนต์แบบไม่คิดค่าธรรมเนียมให้คุณเลือกทำได้หลายช่องทาง เช่น การต่อ พ.ร.บ. ออนไลน์ ซึ่งสะดวกรวดเร็วไม่มีค่าธรรมเนียมแฝง สามารถต่อได้ผ่าน เว็บไซต์ กรมขนส่งทางบก และเว็บไซต์โบรกเกอร์ประกันภัยที่มีความน่าเชื่อถือ
ขอขอบคุณข้อมูล: เว็บไซต์ SILKSPAN
เผยความจริง! ต่อพ.ร.บ. อาจโดนค่าธรรมเนียมแฝงไม่รู้ตัว
โดยมีค่า ต่อ พ.ร.บ. 1,080 บาท (รวมค่าธรรมเนียม) แต่เท่าที่หาข้อมูล ราคา พ.ร.บ. รถเก๋ง 1,500 cc น่าจะอยู่ 580 บาท
เท่ากับว่า ต้องเสียค่าธรรมเนียมถึง 500 บาท ซึ่งส่วนตัวคิดว่าก็แพงอยู่นะ ... เพื่อนๆมีวิธีการต่อ พ.ร.บ. วิธีไหนบ้าง
ที่ไม่โดนค่าธรรมเนียมแสนโหดกันบ้างค่ะ
เห็นบทความการต่อ พ.ร.บ. ออนไลน์นี้มา ไม่รู้ว่าเพื่อนมีความเห็นอย่างไรกันบ้างค่ะ
-------------------
บทความ
ปกติบริการการต่อพ.ร.บ.หรือทะเบียนรถยนต์ผ่าน Dealer ที่เราซื้อรถหรือไฟแนนซ์ ตัวแทน นายหน้าประกันรถยนต์ จะมีค่าธรรมเนียม 300-500เพิ่มจากค่าใช้จ่ายหลัก 2 ส่วน ดังนี้
1. ค่าต่อทะเบียน (ขึ้นอยู่กับประเภทรถและขนาดเครื่องยนต์ (ซีซี)
2. ค่า พ.ร.บ. เริ่มต้นที่ราคา 646 บาท (ขึ้นอยู่กับประเภทรถ)
ทั้งนี้ถ้าคุณไปต่อพ.ร.บ.และทะเบียนรถด้วยตัวเองก็จะประหยัดค่าใช้จ่ายไปได้ 300-500 บาท และอาจมีข้อจำกัดอื่นๆ เช่น ต้องเสียเวลาเดินทางไปติดต่อด้วยตัวเอง หรือมีข้อจำกัดเรื่องเวลาทำการ
ปัจจุบันมีช่องทางการต่อพ.ร.บ.-ทะเบียนรถยนต์แบบไม่คิดค่าธรรมเนียมให้คุณเลือกทำได้หลายช่องทาง เช่น การต่อ พ.ร.บ. ออนไลน์ ซึ่งสะดวกรวดเร็วไม่มีค่าธรรมเนียมแฝง สามารถต่อได้ผ่าน เว็บไซต์ กรมขนส่งทางบก และเว็บไซต์โบรกเกอร์ประกันภัยที่มีความน่าเชื่อถือ
ขอขอบคุณข้อมูล: เว็บไซต์ SILKSPAN