มาเลเซียจะยกเลิกการเก็บภาษีขายและบริการ (Sales and service tax) แล้วเปลี่ยนมาเก็บภาษีสินค้าและบริการ
(goods and service tax) แทนโดยจัดเก็บในอัตรา 6% เริ่มเก็บตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2558 เป็นต้นไป (เลื่อน
มาจากปี 2011 เพราะต้องการศึกษาถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น) แต่เนื่องจากมีความกังวลจากภาคประชาชน
ทำให้ทางรัฐต้องพยายามอธิบายให้ประชาชนเข้าใจเรื่องระบบภาษีใหม่ โดยระบุว่าถ้า gst ไม่ดีจริง ประเทศต่างๆ
คงไม่ใช้และยกตัวอย่างประเทศในอาเซียนและนอกอาเซียนขึ้นมาให้ดู
ประเทศในอาเซียนที่ไม่ได้ใช้ GST/VAT
1) มาเลเซีย
2) บรูไน
3) พม่า
ประเทศในอาเซียนที่ใช้ GST/VAT
จำนวนประเทศในแต่ละโซนที่ใช้ GST/VAT
ภาพด้านบนมาจาก
http://gst.customs.gov.my/en/gst/Pages/gst_ci.aspx
อันนี้เป็นข่าวจากช่อง NOW
http://www.now26.tv/view/39332/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
สื่อมาเลเซียเผย รัฐบาลเตรียมเริ่มเก็บภาษีสินค้าและบริการ หรือจีเอสทีในสัปดาห์หน้า แม้จะมีกระแสคัดค้านจาก
สังคมก็ตาม หนังสือพิมพ์เดอะสตาร์ของมาเลเซีย รายงานอ้างถ้อยแถลงของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
ของมาเลเซีย นายอาห์หมัด มัสลัน ว่า การจัดเก็บภาษีจีเอสทีในอัตรา 6% เป็นเรื่องจำเป็น เพื่อช่วยลดการขาดดุล
งบประมาณของประเทศ และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล
นายอาห์หมัดกล่าวว่าจาก 193 ประเทศทั่วโลก มี 169 ประเทศที่เก็บภาษีจีเอสที จึงเป็นไปไม่ได้ว่าประเทศเหล่านี้
จะทำผิดพลาด ขณะที่บรรดาประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ยกเว้นบรูไนและ
เมียนมาร์ ต่างจัดเก็บภาษีจีเอสทีกันไปก่อนหน้านี้แล้วพร้อมทั้งระบุว่ารัฐบาลจะเก็บภาษีจีเอสทีแทนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน
ขณะเดียวกัน ก็มีกระแสต่อต้านแผนจัดเก็บภาษีจีเอสทีของรัฐบาลเช่นกัน โดยเมื่อวานนี้ (23 มี.ค.) ตำรวจมาเลเซีย
สามารถควบคุมตัวผู้ประท้วงได้หลายสิบคนในเมืองเปอตาลิง จายา รัฐสลังงอร์ นอกกรุงกัวลาลัมเปอร์ ขณะที่
นายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค กล่าวว่า รัฐบาลคาดการณ์ว่าจะขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาวะราคาน้ำมัน
ที่ลดลงในขณะนี้
ทั้งนี้มาเลเซียซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน มียอดขาดดุลงบประมาณในปี 2557 อยู่ที่ 3.5% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ หรือจีดีพี
มาเลเซียจะเริ่มจัดเก็บภาษีสินค้าและบริการหรือ gst ในวันที่ 1 เมษายนนี้
(goods and service tax) แทนโดยจัดเก็บในอัตรา 6% เริ่มเก็บตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2558 เป็นต้นไป (เลื่อน
มาจากปี 2011 เพราะต้องการศึกษาถึงผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น) แต่เนื่องจากมีความกังวลจากภาคประชาชน
ทำให้ทางรัฐต้องพยายามอธิบายให้ประชาชนเข้าใจเรื่องระบบภาษีใหม่ โดยระบุว่าถ้า gst ไม่ดีจริง ประเทศต่างๆ
คงไม่ใช้และยกตัวอย่างประเทศในอาเซียนและนอกอาเซียนขึ้นมาให้ดู
ประเทศในอาเซียนที่ไม่ได้ใช้ GST/VAT
1) มาเลเซีย
2) บรูไน
3) พม่า
ประเทศในอาเซียนที่ใช้ GST/VAT
จำนวนประเทศในแต่ละโซนที่ใช้ GST/VAT
ภาพด้านบนมาจาก
http://gst.customs.gov.my/en/gst/Pages/gst_ci.aspx
อันนี้เป็นข่าวจากช่อง NOW
http://www.now26.tv/view/39332/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%A2%E0%B9%8C%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B9%87%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B5%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%9B%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2.html
สื่อมาเลเซียเผย รัฐบาลเตรียมเริ่มเก็บภาษีสินค้าและบริการ หรือจีเอสทีในสัปดาห์หน้า แม้จะมีกระแสคัดค้านจาก
สังคมก็ตาม หนังสือพิมพ์เดอะสตาร์ของมาเลเซีย รายงานอ้างถ้อยแถลงของรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง
ของมาเลเซีย นายอาห์หมัด มัสลัน ว่า การจัดเก็บภาษีจีเอสทีในอัตรา 6% เป็นเรื่องจำเป็น เพื่อช่วยลดการขาดดุล
งบประมาณของประเทศ และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล
นายอาห์หมัดกล่าวว่าจาก 193 ประเทศทั่วโลก มี 169 ประเทศที่เก็บภาษีจีเอสที จึงเป็นไปไม่ได้ว่าประเทศเหล่านี้
จะทำผิดพลาด ขณะที่บรรดาประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรืออาเซียน ยกเว้นบรูไนและ
เมียนมาร์ ต่างจัดเก็บภาษีจีเอสทีกันไปก่อนหน้านี้แล้วพร้อมทั้งระบุว่ารัฐบาลจะเก็บภาษีจีเอสทีแทนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน
ขณะเดียวกัน ก็มีกระแสต่อต้านแผนจัดเก็บภาษีจีเอสทีของรัฐบาลเช่นกัน โดยเมื่อวานนี้ (23 มี.ค.) ตำรวจมาเลเซีย
สามารถควบคุมตัวผู้ประท้วงได้หลายสิบคนในเมืองเปอตาลิง จายา รัฐสลังงอร์ นอกกรุงกัวลาลัมเปอร์ ขณะที่
นายกรัฐมนตรีนาจิบ ราซัค กล่าวว่า รัฐบาลคาดการณ์ว่าจะขาดดุลงบประมาณเพิ่มขึ้น เนื่องจากภาวะราคาน้ำมัน
ที่ลดลงในขณะนี้
ทั้งนี้มาเลเซียซึ่งเป็นประเทศผู้ส่งออกน้ำมัน มียอดขาดดุลงบประมาณในปี 2557 อยู่ที่ 3.5% ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภายในประเทศ หรือจีดีพี