หลักการคิดแบบวิทยาศาสตร์ สิ่งสำคัญของปรัชญาวิทย์ ในยุคของเรา คือต้องรู้ว่า อะไรเป็นวิทย์แท้ วิทย์เก้ ซึ่งเราดูได้ตามนี้ครับ
การคิดเชิงวิทยาศาสตร์วางฐานอยู่บนความเชื่อในความฉลาดของธรรมชาติที่มีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัวว่าภายใต้เงื่อนไขเดียวกันผลจะเกิดขึ้นในแบบเดียวกัน ด้วยผลของความเชื่อที่ว่านี้ นักวิทยาศาสตร์จึงดำเนินการสู่เป้าประสงค์ต่อไปนี้
1. การเฝ้าสังเกต
สภาพเงื่อนไขอะไรที่จะกระทบต่อปรากฏการณ์ที่เรากำลังทำการสังเกตอยู่ในการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่างๆ นักวิทยาศาสตร์จะเสาะหาที่จะระบุว่าอะไรคือปัจจัยที่กระทบต่อสิ่งที่เขากำลังศึกษา(เช่น ต้องการดูการนำไฟฟ้าของโลหะเงิน ในสภาพความร้อนที่แตกต่าง)
2. การออกแบบการทดลอง
เป็นการควบคุมเพื่อดูถึงปัจจัยสำคัญที่จะมีผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงอันเป็นสาเหตุทำให้เกิดอีกปรากฏการณ์หนึ่ง และปัจจัยอะไรที่ไม่ใช่
(เช่น ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้าแหล่งเดียวกัน ความหนาชิ้นส่วนโลหะเงินต้องเท่ากัน)
3.การวัดที่แน่นอน
เป็นการวัดในเชิงปริมาณของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่สำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้น
(แน่นอน เครื่องมือวัดต้องไม่ห่วยครับพี่)
4.เสาะหาการสร้างกฎทางกายภาพ
สามารถที่จะตีความความสัมพันธ์ที่ได้จากการทดลองที่แน่ชัดออกมาเป็นกฎในทางวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ เช่น กฏแห่งแรงโน้นถ่วง
(ในกรณีนี้ อาจเป็นการแตกตัวของสนามพลังเพราะความร้อน)
5. การศึกษาถึงปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเชื่อมโยงกัน
เมื่อพิจารณาถึงปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเชื่อมโยงว่าสามารถสรุปรวมให้รวมอยู่ในกลุ่มหรือกฎเดียวกันได้หรือไม่
เช่น กฏนี้ใช้กับโลหะอื่นๆได้หรือไม่
6.การก่อรูปสมมติฐานทั่วไปหรือทฤษฎีกายภาพ ( Hypothheses and Physical Theories)
เป็นการกำหนดสรุปรวมออกมาเป็นทฤษฎี ดังจะเห็นได้จากทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ต่างๆที่มีการกำหนดขึ้นจากการทดลองและทดสอบ
7.การทดสอบ การดัดแปลงและการกลั่นกรองข้อสมมติฐาน
การทดสอบ การดัดแปลงการกลั่นกรองดำเนินการด้วยการศึกษาอย่างครอบคลุม รวมทั้งการทดลองขยายผลสู่ปรากฏการณ์อื่นๆ ซึ่งก็จะช่วยให้เกิดการคาดการณ์ ใหม่ๆได้
8.นักวิทยาศาสตร์เสาะหาการกำหนดกฎทั่วไป รวมทั้งทฤษฎีที่ครอบคลุม
กฎทั่วไปและทฤษฎีที่ครอบคลุมเป็นการนำไปใช้ประยุกต์ที่กว้างขวางในการคาดการณ์และอธิบายปรากฏการณ์อื่นๆที่ตามมา อาทิ เราใช้กฎของแรงโน้นถ่วงในการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆได้อีกมากที่เชื่อมโยงกัน
นอกจากนั้นการทดสอบนั้นต้องถึงระดับที่เป็นวิทยาศาสตร์ เช่น การทดสอบน้ำมันรถยนต์ชนิดใหม่ต้องวิ่งเป็นแสนกิโลเมตร
แต่รถยนต์ที่ใช้น้ำมันวิทย์เทียม อาจวิ่งแค่ร้อยเมตร หรือที่หมอวิทย์เทียมออกมาพูดตอนจีที 200 ว่า มันหาระเบิดได้ 20%
ทั้งๆ ที่ 20% นั่น ไม่มีความเป็นความมีนัยสำคัญทางวิทยาศาสตร์ด้วยซ้ำไป ไม่งั้นก็จะติดหล่มวิทย์เทียมง่ายๆ
ง
ขอบคุณข้อมูลจาก
https://teerayaut.wordpress.com/2012/06/27/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2
เรียนวิทย์มา จะเชื่ออะไร ก็สืบมาหลายๆแหล่งข้อมูลหน่อยนะครับ ก่อนจะเชื่อ ระวังโดนวิทย์ปลอมต้ม
แท็คปรัชญา เพราะจริงๆ เรื่องนี้พัวพันปรัชญาวิทย์ด้วยครับ
หลักการวิทยาศาสตร์คืออะไร มาดูกัน...
การคิดเชิงวิทยาศาสตร์วางฐานอยู่บนความเชื่อในความฉลาดของธรรมชาติที่มีกฎเกณฑ์แน่นอนตายตัวว่าภายใต้เงื่อนไขเดียวกันผลจะเกิดขึ้นในแบบเดียวกัน ด้วยผลของความเชื่อที่ว่านี้ นักวิทยาศาสตร์จึงดำเนินการสู่เป้าประสงค์ต่อไปนี้
1. การเฝ้าสังเกต
สภาพเงื่อนไขอะไรที่จะกระทบต่อปรากฏการณ์ที่เรากำลังทำการสังเกตอยู่ในการพิจารณาถึงความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ต่างๆ นักวิทยาศาสตร์จะเสาะหาที่จะระบุว่าอะไรคือปัจจัยที่กระทบต่อสิ่งที่เขากำลังศึกษา(เช่น ต้องการดูการนำไฟฟ้าของโลหะเงิน ในสภาพความร้อนที่แตกต่าง)
2. การออกแบบการทดลอง
เป็นการควบคุมเพื่อดูถึงปัจจัยสำคัญที่จะมีผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยตรงอันเป็นสาเหตุทำให้เกิดอีกปรากฏการณ์หนึ่ง และปัจจัยอะไรที่ไม่ใช่
(เช่น ต้องใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้าแหล่งเดียวกัน ความหนาชิ้นส่วนโลหะเงินต้องเท่ากัน)
3.การวัดที่แน่นอน
เป็นการวัดในเชิงปริมาณของความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่สำคัญและผลกระทบที่เกิดขึ้น
(แน่นอน เครื่องมือวัดต้องไม่ห่วยครับพี่)
4.เสาะหาการสร้างกฎทางกายภาพ
สามารถที่จะตีความความสัมพันธ์ที่ได้จากการทดลองที่แน่ชัดออกมาเป็นกฎในทางวิทยาศาสตร์ได้หรือไม่ เช่น กฏแห่งแรงโน้นถ่วง
(ในกรณีนี้ อาจเป็นการแตกตัวของสนามพลังเพราะความร้อน)
5. การศึกษาถึงปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเชื่อมโยงกัน
เมื่อพิจารณาถึงปรากฏการณ์ที่คล้ายคลึงหรือเชื่อมโยงว่าสามารถสรุปรวมให้รวมอยู่ในกลุ่มหรือกฎเดียวกันได้หรือไม่
เช่น กฏนี้ใช้กับโลหะอื่นๆได้หรือไม่
6.การก่อรูปสมมติฐานทั่วไปหรือทฤษฎีกายภาพ ( Hypothheses and Physical Theories)
เป็นการกำหนดสรุปรวมออกมาเป็นทฤษฎี ดังจะเห็นได้จากทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ต่างๆที่มีการกำหนดขึ้นจากการทดลองและทดสอบ
7.การทดสอบ การดัดแปลงและการกลั่นกรองข้อสมมติฐาน
การทดสอบ การดัดแปลงการกลั่นกรองดำเนินการด้วยการศึกษาอย่างครอบคลุม รวมทั้งการทดลองขยายผลสู่ปรากฏการณ์อื่นๆ ซึ่งก็จะช่วยให้เกิดการคาดการณ์ ใหม่ๆได้
8.นักวิทยาศาสตร์เสาะหาการกำหนดกฎทั่วไป รวมทั้งทฤษฎีที่ครอบคลุม
กฎทั่วไปและทฤษฎีที่ครอบคลุมเป็นการนำไปใช้ประยุกต์ที่กว้างขวางในการคาดการณ์และอธิบายปรากฏการณ์อื่นๆที่ตามมา อาทิ เราใช้กฎของแรงโน้นถ่วงในการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆได้อีกมากที่เชื่อมโยงกัน
นอกจากนั้นการทดสอบนั้นต้องถึงระดับที่เป็นวิทยาศาสตร์ เช่น การทดสอบน้ำมันรถยนต์ชนิดใหม่ต้องวิ่งเป็นแสนกิโลเมตร
แต่รถยนต์ที่ใช้น้ำมันวิทย์เทียม อาจวิ่งแค่ร้อยเมตร หรือที่หมอวิทย์เทียมออกมาพูดตอนจีที 200 ว่า มันหาระเบิดได้ 20%
ทั้งๆ ที่ 20% นั่น ไม่มีความเป็นความมีนัยสำคัญทางวิทยาศาสตร์ด้วยซ้ำไป ไม่งั้นก็จะติดหล่มวิทย์เทียมง่ายๆ
ง
ขอบคุณข้อมูลจาก
https://teerayaut.wordpress.com/2012/06/27/%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%97%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2
เรียนวิทย์มา จะเชื่ออะไร ก็สืบมาหลายๆแหล่งข้อมูลหน่อยนะครับ ก่อนจะเชื่อ ระวังโดนวิทย์ปลอมต้ม
แท็คปรัชญา เพราะจริงๆ เรื่องนี้พัวพันปรัชญาวิทย์ด้วยครับ