สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 27
ตอบสั้นๆ แล้วกัน (สุดท้าย ก็ไม่ได้สั้นเลย Kรู)
" ขึ้น 0.60 บาท ลง 0.40 บาท ส่วนต่าง 0.20 บาท เหตุใดราคาน้ำมันขึ้นลง ถึงไม่เท่ากัน? "
เหตุผลหลัก มาจาก ... ปั๊มรายย่อย ที่ขายน้ำมันให้ประชาชน เค้าต้องรับความเสี่ยง จากการขึ้น-ลงของราคาขายหน้าปั๊ม
สมมติ เค้าสั่งน้ำมันมาลง อาทิตย์ละ 1 ครั้ง มาวันอาทิตย์ ขายตั้งแต่ อาทิตย์ - เสาร์
ถ้าอาทิตย์นั้น ราคาน้ำมันมีการปรับขึ้นราคา โอเค เค้าก็โชคดีหน่อย แต่...เค้าก็จะได้กำไรมากขึ้น ก็เฉพาะ " ปริมาณน้ำมันที่เหลือในถังของเค้า "
แต่...ถ้าอาทิตย์นั้น ราคาน้ำมันมีการปรับลดราคา คราวนี้ซวย มีน้ำมันเหลือในถังใต้ดินเยอะแค่ไหน มีโอกาส " เท่าทุน " หรือ " ขาดทุน "
ทีนี้ ถ้า ... กำหนดว่า ขึ้น - ลง ต้องเท่ากันทุกครั้ง ครั้งละ 50 สต. คุณคิดว่า ปั๊มเค้าจะรับภาระได้มั้ย ?
เพราะต้นทุนของปั๊ม คือ ราคาน้ำมันขายส่ง + ต้นทุนทุกอย่างที่ปั๊มเค้าต้องจ่าย
ถ้าจะเอากันแบบนี้ล่ะก็ ... ต่อไปนี้ ปั๊มรายย่อย เค้าก็จะดูราคาน้ำมันตลาดโลก ทุกวัน
วันไหนราคาขึ้น สั่งปิดพรุ่งนี้ไปเลย เพราะรู้แน่ๆ ว่า วันมะรืน Kรู จะขึ้นราคาได้อีก 60 สต./ลิตร เพราะยิ่งเหลือน้ำมันมากเท่าไหร่ ก็กำไรมากเท่านั้น
ส่วนวันไหนราคาลง ก็ทนๆ ขายไปจนหมดถัง แล้วก็ปิดปั๊ม รอวันที่ราคาตลาดโลกมันตกถึงต่ำสุดจริงๆ แล้วค่อยสั่งมาขาย
ทีนี้แหละ คนเดือดร้อนจริงๆ ก็คือ ประชาชนตาดำๆ ที่ใช้รถใช้ถนนนั่นแหละ
เค้าถึงไปหาวิธีการกันมา แล้วก็สรุปออกมาว่า ตอนขึ้น ต้องมากกว่า ตอนลง 20-30 สต/ลิตร มันถึงได้ออกมาว่า ขึ้น 60 ลง 40
>>> งั้น ... พวกขายน้ำมัน ก็ได้เปรียบสิ
ได้เปรียบอะไร ? คุณอย่าลืมว่า
1. ราคาตลาดโลก เค้าเปลี่ยนแปลงทุกวัน แทบจะทุก 15 นาทีเลยด้วยซ้ำ
2. แต่บ้านเรา เวลาจะขึ้น จะลง มันห่างๆ กัน 3 - 7 วัน บางที ทั้งเดือน ไม่ขยับเลยด้วยซ้ำ ทั้งๆ ที่ ตลาดโลก มันปรับขึ้นๆ ลงๆ ของมันแทบทุกวัน
ก.พลังงาน / สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เค้าถึงทำหน้านี้เอาไว้
http://www.eppo.go.th/petro/price/index.html
เพื่อให้เปิดตรวจสอบดู ว่า แต่ละวัน Marketing Margin ของน้ำมันแต่ละอย่าง มันอยู่ที่เท่าไหร่
มีถึงขนาดว่า ทำตารางสรุปข้างล่างอีกที ว่า เดือนที่แล้ว เฉลี่ยทั้งเดือน กลุ่มเบนซิน กี่บาท/ลิตร ดีเซล กี่บาท/ลิตร
" ขึ้น 0.60 บาท ลง 0.40 บาท ส่วนต่าง 0.20 บาท เหตุใดราคาน้ำมันขึ้นลง ถึงไม่เท่ากัน? "
เหตุผลหลัก มาจาก ... ปั๊มรายย่อย ที่ขายน้ำมันให้ประชาชน เค้าต้องรับความเสี่ยง จากการขึ้น-ลงของราคาขายหน้าปั๊ม
สมมติ เค้าสั่งน้ำมันมาลง อาทิตย์ละ 1 ครั้ง มาวันอาทิตย์ ขายตั้งแต่ อาทิตย์ - เสาร์
ถ้าอาทิตย์นั้น ราคาน้ำมันมีการปรับขึ้นราคา โอเค เค้าก็โชคดีหน่อย แต่...เค้าก็จะได้กำไรมากขึ้น ก็เฉพาะ " ปริมาณน้ำมันที่เหลือในถังของเค้า "
แต่...ถ้าอาทิตย์นั้น ราคาน้ำมันมีการปรับลดราคา คราวนี้ซวย มีน้ำมันเหลือในถังใต้ดินเยอะแค่ไหน มีโอกาส " เท่าทุน " หรือ " ขาดทุน "
ทีนี้ ถ้า ... กำหนดว่า ขึ้น - ลง ต้องเท่ากันทุกครั้ง ครั้งละ 50 สต. คุณคิดว่า ปั๊มเค้าจะรับภาระได้มั้ย ?
เพราะต้นทุนของปั๊ม คือ ราคาน้ำมันขายส่ง + ต้นทุนทุกอย่างที่ปั๊มเค้าต้องจ่าย
ถ้าจะเอากันแบบนี้ล่ะก็ ... ต่อไปนี้ ปั๊มรายย่อย เค้าก็จะดูราคาน้ำมันตลาดโลก ทุกวัน
วันไหนราคาขึ้น สั่งปิดพรุ่งนี้ไปเลย เพราะรู้แน่ๆ ว่า วันมะรืน Kรู จะขึ้นราคาได้อีก 60 สต./ลิตร เพราะยิ่งเหลือน้ำมันมากเท่าไหร่ ก็กำไรมากเท่านั้น
ส่วนวันไหนราคาลง ก็ทนๆ ขายไปจนหมดถัง แล้วก็ปิดปั๊ม รอวันที่ราคาตลาดโลกมันตกถึงต่ำสุดจริงๆ แล้วค่อยสั่งมาขาย
ทีนี้แหละ คนเดือดร้อนจริงๆ ก็คือ ประชาชนตาดำๆ ที่ใช้รถใช้ถนนนั่นแหละ
เค้าถึงไปหาวิธีการกันมา แล้วก็สรุปออกมาว่า ตอนขึ้น ต้องมากกว่า ตอนลง 20-30 สต/ลิตร มันถึงได้ออกมาว่า ขึ้น 60 ลง 40
>>> งั้น ... พวกขายน้ำมัน ก็ได้เปรียบสิ
ได้เปรียบอะไร ? คุณอย่าลืมว่า
1. ราคาตลาดโลก เค้าเปลี่ยนแปลงทุกวัน แทบจะทุก 15 นาทีเลยด้วยซ้ำ
2. แต่บ้านเรา เวลาจะขึ้น จะลง มันห่างๆ กัน 3 - 7 วัน บางที ทั้งเดือน ไม่ขยับเลยด้วยซ้ำ ทั้งๆ ที่ ตลาดโลก มันปรับขึ้นๆ ลงๆ ของมันแทบทุกวัน
ก.พลังงาน / สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน เค้าถึงทำหน้านี้เอาไว้
http://www.eppo.go.th/petro/price/index.html
เพื่อให้เปิดตรวจสอบดู ว่า แต่ละวัน Marketing Margin ของน้ำมันแต่ละอย่าง มันอยู่ที่เท่าไหร่
มีถึงขนาดว่า ทำตารางสรุปข้างล่างอีกที ว่า เดือนที่แล้ว เฉลี่ยทั้งเดือน กลุ่มเบนซิน กี่บาท/ลิตร ดีเซล กี่บาท/ลิตร
แสดงความคิดเห็น
ขึ้น 0.60 บาท ลง 0.40 บาท ส่วนต่าง 0.20 บาท เหตุใดราคาน้ำมันขึ้นลง ถึงไม่เท่ากัน?