คุณลองคิดตามดูนะครับ
หากในบ้านหลังหนึ่ง มีพ่อ แม่ และลูก 1 คนอาศัยด้วยกัน
คุณพ่อเป็นคนใจดี ชอบช่วยเหลือคน คนจึงรัก วันหนึ่งคนให้เงินพ่อมา บอกว่าให้เอาไปสร้างบ้าน เลี้ยงดูลูกๆนะ
พ่อก็รับเงินนั้นไว้ และเอาเงินมาสร้างบ้าน เลี้ยงดูคนในครอบครัว
ปรากฏว่าวันหนึ่งมีคนข้างบ้านมาเห็นเข้า กลับเอาเรื่องไปฟ้องผู้ใหญ่บ้านว่าพ่อฉ้อโกงทรัพย์ เอาทรัพย์ไปเป็นของตัวเอง
คนที่เอาเงินให้พ่อก็งงว่า ไอ้นี่มันเกี่ยวอะไร เงินก็ไม่ใช่เงินตัวเอง มาเดือดร้อนอะไร
พ่อก็งงว่า เอ้า! ฉันก็เอาเงินมาใช้ตามที่คนให้เงินเขาบอกมา ฉันผิดด้วยหรือ ถ้าฉันผิด อ่ะ! ฉันโอนเงินนั้นเป็นชื่อของบ้านก็ได้
คนข้างบ้านคนนั้นได้ที บอกว่า นั่นไง แกรับผิดแล้ว แกเลยคืนเงินให้กับบ้านของแก
สรุปนะครับ
กรณีเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายก็ไม่ต่างกัน
เจ้าอาวาสเหมือนพ่อ ส่วนภรรยาและลูกๆก็คืออุบาสก อุบาสิก พระและสามเณรในวัด
บ้านเปรียบเหมือนวัดพระธรรมกาย
คนให้เงินก็คือศรัทธาสาธุชนที่ศรัทธาเจ้าอาวาส
ส่วนคนข้างบ้านคือพวกที่จ้องทำลายวัด
เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นก็คล้ายๆกับที่ผมยกตัวอย่างมา
ถามว่า เจ้าอาวาสผิดอะไร ในเมื่อมีคนศรัทธาทำบุญมาให้ท่าน ท่านก็เอามาสร้างวัด เลี้ยงพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตามประสงค์ของผู้บริจาค
มีแต่คนที่เดือนร้อนคือใครก็ไม่รู้ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องเลย
ส่วนกรณีเงินสหกรณ์ ก็เคลียร์แล้วว่า เงินนำมาสร้างที่ธรณีสงฆ์ ไม่ใช่ที่ส่วนตัว หากท่านจะยึดก็เชิญมาขุดเสา ตักดิน ขนพระไปได้ เพราะนี่คือสมบัติของชาติ ไม่ใช่สมบัติของใครคนใดคนหนึ่ง ธรณีสงฆ์เป็นของทุกคน คุณอยากใช้ก็เข้ามาใช้ได้
กรณีคำสอนก็ไม่เห็นจะมีผิดแผกอะไร ก็ว่ากันไปตามพระไตรปิฎก อันไหนที่ถูกมหาเถรสมาคมติงมา ก็ไม่ได้มาสอนต่อ ก็มีการปรับปรุงหลังจากปี 42 นั้นตามมติมหาเถรสมาคมแล้ว
ต้องถามคุณว่า คุณอ่านข้อคม เนื้อหาหลายๆส่วนในพระไตรปิฎก คุณเชื่อทุกส่วน ทุกครั้งกรือไม่ เพราะคนส่วนมากไม่เชื่อ ยิ่งเจอปาฏิหาริย์ เจอความรักในพระพุทธศาสนาของคนในสมัยพุทธกาล ยิ่งไม่เชื่อหรือเชื่อไม่ลง เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐีเอาเงินปูเพื่อซื้อที่ ชฎิลเศรษฐีมีภูเขาทอง เป็นต้น
เรื่องพวกนี้เป็นเรื่องที่พบได้ทั่วไปในพระไตรปิฎก
เมื่อเปรียบเทียบแล้ว คนที่มาทำบุญวัดพระธรรมกายยังเทียบไม่ติดเลยด้วยซ้ำ
แล้วคุณล่ะ คิดอย่างไร
ตรรกะง่ายๆที่ควรจะคิดได้
หากในบ้านหลังหนึ่ง มีพ่อ แม่ และลูก 1 คนอาศัยด้วยกัน
คุณพ่อเป็นคนใจดี ชอบช่วยเหลือคน คนจึงรัก วันหนึ่งคนให้เงินพ่อมา บอกว่าให้เอาไปสร้างบ้าน เลี้ยงดูลูกๆนะ
พ่อก็รับเงินนั้นไว้ และเอาเงินมาสร้างบ้าน เลี้ยงดูคนในครอบครัว
ปรากฏว่าวันหนึ่งมีคนข้างบ้านมาเห็นเข้า กลับเอาเรื่องไปฟ้องผู้ใหญ่บ้านว่าพ่อฉ้อโกงทรัพย์ เอาทรัพย์ไปเป็นของตัวเอง
คนที่เอาเงินให้พ่อก็งงว่า ไอ้นี่มันเกี่ยวอะไร เงินก็ไม่ใช่เงินตัวเอง มาเดือดร้อนอะไร
พ่อก็งงว่า เอ้า! ฉันก็เอาเงินมาใช้ตามที่คนให้เงินเขาบอกมา ฉันผิดด้วยหรือ ถ้าฉันผิด อ่ะ! ฉันโอนเงินนั้นเป็นชื่อของบ้านก็ได้
คนข้างบ้านคนนั้นได้ที บอกว่า นั่นไง แกรับผิดแล้ว แกเลยคืนเงินให้กับบ้านของแก
สรุปนะครับ
กรณีเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกายก็ไม่ต่างกัน
เจ้าอาวาสเหมือนพ่อ ส่วนภรรยาและลูกๆก็คืออุบาสก อุบาสิก พระและสามเณรในวัด
บ้านเปรียบเหมือนวัดพระธรรมกาย
คนให้เงินก็คือศรัทธาสาธุชนที่ศรัทธาเจ้าอาวาส
ส่วนคนข้างบ้านคือพวกที่จ้องทำลายวัด
เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นก็คล้ายๆกับที่ผมยกตัวอย่างมา
ถามว่า เจ้าอาวาสผิดอะไร ในเมื่อมีคนศรัทธาทำบุญมาให้ท่าน ท่านก็เอามาสร้างวัด เลี้ยงพระภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิกา ตามประสงค์ของผู้บริจาค
มีแต่คนที่เดือนร้อนคือใครก็ไม่รู้ ซึ่งไม่ได้เกี่ยวข้องเลย
ส่วนกรณีเงินสหกรณ์ ก็เคลียร์แล้วว่า เงินนำมาสร้างที่ธรณีสงฆ์ ไม่ใช่ที่ส่วนตัว หากท่านจะยึดก็เชิญมาขุดเสา ตักดิน ขนพระไปได้ เพราะนี่คือสมบัติของชาติ ไม่ใช่สมบัติของใครคนใดคนหนึ่ง ธรณีสงฆ์เป็นของทุกคน คุณอยากใช้ก็เข้ามาใช้ได้
กรณีคำสอนก็ไม่เห็นจะมีผิดแผกอะไร ก็ว่ากันไปตามพระไตรปิฎก อันไหนที่ถูกมหาเถรสมาคมติงมา ก็ไม่ได้มาสอนต่อ ก็มีการปรับปรุงหลังจากปี 42 นั้นตามมติมหาเถรสมาคมแล้ว
ต้องถามคุณว่า คุณอ่านข้อคม เนื้อหาหลายๆส่วนในพระไตรปิฎก คุณเชื่อทุกส่วน ทุกครั้งกรือไม่ เพราะคนส่วนมากไม่เชื่อ ยิ่งเจอปาฏิหาริย์ เจอความรักในพระพุทธศาสนาของคนในสมัยพุทธกาล ยิ่งไม่เชื่อหรือเชื่อไม่ลง เช่น อนาถบิณฑิกเศรษฐีเอาเงินปูเพื่อซื้อที่ ชฎิลเศรษฐีมีภูเขาทอง เป็นต้น
เรื่องพวกนี้เป็นเรื่องที่พบได้ทั่วไปในพระไตรปิฎก
เมื่อเปรียบเทียบแล้ว คนที่มาทำบุญวัดพระธรรมกายยังเทียบไม่ติดเลยด้วยซ้ำ
แล้วคุณล่ะ คิดอย่างไร