ปัจจุบันมีมุมมองที่เด่นชัด และ (อาจจะ) ขัดแย้งกันอยู่ 2 มุมมองค่ะ คือ
1. เสรีนิยม มองว่าการปฏิรูปนั้นเป็น --> Thainization
2. อนุรักษนิยม มองว่าการปฏิรูปนั้นเป็น --> Standardization of Thainess
พูดง่ายๆ คือ
ฝ่ายเสรีนิยมมองว่า Thainess เป็นของใหม่ เพิ่งเกิดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเป็นต้นมา
เดิมดินแดนนี้มีแต่เมืองเล็กเมืองน้อย ต่อมาผนวกรวมกัน และสถาปนาเป็นประเทศ
เลยต้องอัดฉีดกระบวนการ Thainization เข้าไปหนักๆ เมื่อไม่นานมานี้เอง
ฝ่ายอนุรักษนิยมมองว่า Thainess มีมานานแล้ว ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานหลายร้อยปี
แต่เพราะมันยิ่งใหญ่และยาวนาน ก็เลยมีความหลากหลายปะปนอยู่ด้วย Thainess มันจึงเริ่ม vague ในจิตสำนึก
ดังนั้นรัฐจึงรวบรวม Thainess มาสังคายนา standardize กันซะหน่อย มันจะได้ concrete
ท่านมีมุมมองแบบใด เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างไร หรือมีมุมมองอื่นๆ เชิญอภิปราย
ป.ล. การปฏิรูปตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางมีหลายมิติ แต่กระทู้นี้จำกัดเฉพาะมิติ "ความเป็นไทย" ค่ะ
สำรวจมุมมองต่อ "ความเป็นไทย" นับจากการปฏิรูปตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลาง ท่านมองอย่างไร
1. เสรีนิยม มองว่าการปฏิรูปนั้นเป็น --> Thainization
2. อนุรักษนิยม มองว่าการปฏิรูปนั้นเป็น --> Standardization of Thainess
พูดง่ายๆ คือ
ฝ่ายเสรีนิยมมองว่า Thainess เป็นของใหม่ เพิ่งเกิดขึ้นในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางเป็นต้นมา
เดิมดินแดนนี้มีแต่เมืองเล็กเมืองน้อย ต่อมาผนวกรวมกัน และสถาปนาเป็นประเทศ
เลยต้องอัดฉีดกระบวนการ Thainization เข้าไปหนักๆ เมื่อไม่นานมานี้เอง
ฝ่ายอนุรักษนิยมมองว่า Thainess มีมานานแล้ว ชนชาติไทยเป็นชนชาติที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานหลายร้อยปี
แต่เพราะมันยิ่งใหญ่และยาวนาน ก็เลยมีความหลากหลายปะปนอยู่ด้วย Thainess มันจึงเริ่ม vague ในจิตสำนึก
ดังนั้นรัฐจึงรวบรวม Thainess มาสังคายนา standardize กันซะหน่อย มันจะได้ concrete
ท่านมีมุมมองแบบใด เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างไร หรือมีมุมมองอื่นๆ เชิญอภิปราย
ป.ล. การปฏิรูปตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ตอนกลางมีหลายมิติ แต่กระทู้นี้จำกัดเฉพาะมิติ "ความเป็นไทย" ค่ะ