สมการของนิวตั้นเรื่องแรงโน้มถ่วง พิสูจแล้วว่าผิด เพราะนำไปใช้ในระบบขนาดใหญ่ที่เรียกว่าแกแลคซี่ไม่ได้ คือ ดาวฤก รอบนอกแกแลคซี่ โคจรรอบหลุมดำ เร็วกว่าค่าที่คำนวนไว้ในสมการ ทำให้ แกแลคซี่ มีการหมุนรอบตัวเองเหมือนแผ่นดิส ต่างจาก การโคจร ของดาวเคราะที่โคจรรอบดวงอาทิตย์ ที่สามารถคำนวนได้ตามสมการ คือ ดาวที่ห่างจากดวงอาทิตย์ จะโคจรช้าลงเรื่อยๆ ดาวที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์ จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ได้เร็วกว่า
นั่นแสดงถึงเรายังมีความเข้าใจแรงดึงดูด ยังไม่ถูกต้อง ยังมีความเข้าใจเรื่องมิติ ยังไม่ถูกต้อง
ผมจึงคิดเล่นๆว่าลองมาหาคำอธิบายใหม่ๆดูกับธรรมชาติดีไหม
เริมจากสมมุติฐานเรื่องธรรมชาติ ถ้าเราให้ธรรมชาติทั้งหมด มีสภาวะเป็นคู่ตรงข้าม เช่น มีสว่างมีมืด มีสูงมีต่ำ เป็นต้น
เป็นสมมุติฐานข้อที่ 1(เอามาจากแนวคิดพุทธแบบเซน พิจารณาดูธรรมชาติอยู่ในรูปแบบนี้ทั้งนั้น)
ทีนี้ตามสมุติฐานข้อที่ 1 สรรพสิ่งในธรรมชาติเหลือ แค่คู่ตรงข้าม กันเท่านั้น
ทีนี้เอาสมมุติฐานข้อที่ 1 มาสร้างกฏแรงดึงดูด ได้เป็นสรรพสิ่งย่อมดึงดูด กับคู่ตรงข้ามของตน (เพราะธรรมชาติไม่มีอะไรอื่นๆนอกจากคู่ตรงข้าม)
เป็นสมมุติฐานข้อที่ 2 (สังเกตุปรากฏการอื่นๆเช่น ขั้วเหนือ ดูดกับขั้วใต้ของแม่เหล็ก , อิเล็กตรอนขั้วลบ วิ่งไปขั้วบวก , แม้แต่ความร้อนที่เคลื่อนไปหาความเย็น(ร้อนน้อยกว่า))
จากสมมุติฐานข้อที่ 2 จะเหนได้ว่า สสารไม่ได้ดึงดูดกันเอง หากแต่ดึงดูดกับ คู่ตรงข้ามสสาร(ปฏิสาร)
จากสมมุติฐานทั้งสองข้อ ได้ แนวคิดแรงดึงดูดใหม่ๆ คือ
วัตถุที่รวมตัวกันเป็นดาว ไม่ได้ดึงดูดกันเองแต่ดึงดูดกับปฏิสาร โดยปฏิสารพุ่งเข้าชนสสารจากทุกทิศทุกทางผลจากการพุ่งเข้าชน ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วง(แปลว่าถ้าสสารไปอยู่ในบางตำแหน่งในอวกาศ อาจมีมวลหรือแรงดึงดูดไม่เท่ากัน ,ทำให้คิดว่าในสมัยไดโนเสาร์โลกเคยอยู่ในตำแหน่งในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง สัตว์แต่ละตัวเรยต้องมีขนาดใหญ่เพิ่มรองรับน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ,ทีนี้ ก็ตอบได้ว่า ทำไมระบบใหญ่ๆในแกแลคซี่ ถึงโคจรเหมือนการหมุนของดิส และอธิบายเรื่องพลังงานมืดที่ทำให้แต่ละแกแลคซี่มีความเร่งออกห่างจากกันได้ด้วย) ส่วนแรงดึงดูดระหว่างดาวผมสันนิษฐานเอาว่า เกิดจากการที่ปฏิสารพุ่งชนดาวทำให้เกิดช่องว่างของปฏิสารขึ้น มิติจึงพยายามที่จะปิดช่องว่างเหล่านั้นด้วยการหดตัวเองลงจึงทำให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างดาว (เหมือนกับแรงดึงดูดของสูญญากาศอะครับเมื่อไม่มีอากาศก็จะเกิดแรงดึงให้อากาศที่อื่นเคลื่อนเข้ามา) เอ่อคิดต่อเอาเองนะคัฟ ขี้เกียจคิดสมการ ปวดหัว ผมแค่คิดเล่นๆละ อิอิอิ
อยากนำเสนอแนวคิดเรื่องแรงโน้มถ่วง
นั่นแสดงถึงเรายังมีความเข้าใจแรงดึงดูด ยังไม่ถูกต้อง ยังมีความเข้าใจเรื่องมิติ ยังไม่ถูกต้อง
ผมจึงคิดเล่นๆว่าลองมาหาคำอธิบายใหม่ๆดูกับธรรมชาติดีไหม
เริมจากสมมุติฐานเรื่องธรรมชาติ ถ้าเราให้ธรรมชาติทั้งหมด มีสภาวะเป็นคู่ตรงข้าม เช่น มีสว่างมีมืด มีสูงมีต่ำ เป็นต้น
เป็นสมมุติฐานข้อที่ 1(เอามาจากแนวคิดพุทธแบบเซน พิจารณาดูธรรมชาติอยู่ในรูปแบบนี้ทั้งนั้น)
ทีนี้ตามสมุติฐานข้อที่ 1 สรรพสิ่งในธรรมชาติเหลือ แค่คู่ตรงข้าม กันเท่านั้น
ทีนี้เอาสมมุติฐานข้อที่ 1 มาสร้างกฏแรงดึงดูด ได้เป็นสรรพสิ่งย่อมดึงดูด กับคู่ตรงข้ามของตน (เพราะธรรมชาติไม่มีอะไรอื่นๆนอกจากคู่ตรงข้าม)
เป็นสมมุติฐานข้อที่ 2 (สังเกตุปรากฏการอื่นๆเช่น ขั้วเหนือ ดูดกับขั้วใต้ของแม่เหล็ก , อิเล็กตรอนขั้วลบ วิ่งไปขั้วบวก , แม้แต่ความร้อนที่เคลื่อนไปหาความเย็น(ร้อนน้อยกว่า))
จากสมมุติฐานข้อที่ 2 จะเหนได้ว่า สสารไม่ได้ดึงดูดกันเอง หากแต่ดึงดูดกับ คู่ตรงข้ามสสาร(ปฏิสาร)
จากสมมุติฐานทั้งสองข้อ ได้ แนวคิดแรงดึงดูดใหม่ๆ คือ
วัตถุที่รวมตัวกันเป็นดาว ไม่ได้ดึงดูดกันเองแต่ดึงดูดกับปฏิสาร โดยปฏิสารพุ่งเข้าชนสสารจากทุกทิศทุกทางผลจากการพุ่งเข้าชน ทำให้เกิดแรงโน้มถ่วง(แปลว่าถ้าสสารไปอยู่ในบางตำแหน่งในอวกาศ อาจมีมวลหรือแรงดึงดูดไม่เท่ากัน ,ทำให้คิดว่าในสมัยไดโนเสาร์โลกเคยอยู่ในตำแหน่งในอวกาศที่มีแรงโน้มถ่วงสูง สัตว์แต่ละตัวเรยต้องมีขนาดใหญ่เพิ่มรองรับน้ำหนักตัวที่เพิ่มขึ้น ,ทีนี้ ก็ตอบได้ว่า ทำไมระบบใหญ่ๆในแกแลคซี่ ถึงโคจรเหมือนการหมุนของดิส และอธิบายเรื่องพลังงานมืดที่ทำให้แต่ละแกแลคซี่มีความเร่งออกห่างจากกันได้ด้วย) ส่วนแรงดึงดูดระหว่างดาวผมสันนิษฐานเอาว่า เกิดจากการที่ปฏิสารพุ่งชนดาวทำให้เกิดช่องว่างของปฏิสารขึ้น มิติจึงพยายามที่จะปิดช่องว่างเหล่านั้นด้วยการหดตัวเองลงจึงทำให้เกิดแรงดึงดูดระหว่างดาว (เหมือนกับแรงดึงดูดของสูญญากาศอะครับเมื่อไม่มีอากาศก็จะเกิดแรงดึงให้อากาศที่อื่นเคลื่อนเข้ามา) เอ่อคิดต่อเอาเองนะคัฟ ขี้เกียจคิดสมการ ปวดหัว ผมแค่คิดเล่นๆละ อิอิอิ