พอดีไปเจอข่าวนี้มา ตกใจมากครับเลยเอามาถาม
จาก
http://zaa.xq28.org/viewtopic.php?f=3&t=2432
... ก่อนอื่นเราควรเข้าใจถึงลักษณะของวัตถุดิบที่นำมาผลิตถุงยาง ถ้าส่องกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่าเยื่อถุงยางสามารถป้องกันน้ำอสุจิและเชื้ออสุจิไม่ให้ผ่านไปได้ แต่ก็ไม่สามารถป้องกันไม่ให้
เชื้อไวรัสที่มีขนาดเล็กมากเล็ดลอดผ่าน ดังนั้น ถุงยางอนามัยจึงมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการตั้งครรภ์ แต่นี่ไม่ได้หมายความว่ามันจะสามารถป้องกันการติดกามโรคได้ 100% ดังนั้น
1. มีโรคติดต่อทางเพศบางประเภทที่ติดต่อผ่านผิวสัมผัสที่ไม่ได้ปกคลุมด้วยถุงยาง
2. การสวมถุงยางที่ผิดวิธี โดยเฉพาะเมื่อกำลังหน้ามืดตามัวอยากจะสำเร็จภารกิจ การใส่ผิดวิธีจะทำให้ถุงยางเกิดรั่วได้
3. ในส่วนของโรคเอดส์ ผลการวิจัยพบว่า ถุงยางป้องกันการติดเชื้อ HIV ได้แค่ 80%
ศาสตราจารย์ ดร. Jokin de Irala ผู้เชี่ยวชาญโรคติดต่อจากสเปนพบว่า การสอนให้วัยรุ่นใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคอาจจะเป็นดาบสองคม เพราะนั่นหมายถึง"ใบเบิกทางให้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่รู้สึกตะขิดตะขวงหรือหวาดกลัวโรคอีกต่อไป" ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
ในหนังสือชื่อว่า Difficult Moral Questions ของนักปรัชญา Germain Grisez ได้ยกตัวอย่างเพื่อชี้ให้เห็นว่าการใช้ถุงยางอนามัยอาจจะไม่เพียงพอ โดยเขาเปรียบเทียบว่า "ในกรณีฝนตก แม้เราถือร่มก็ไม่อาจช่วยปกป้องเราจากน้ำฝนได้เต็มร้อย แม้เราจะใช้แรงถือร่มแค่ไหน แต่ลมฝนก็จะทำให้เราต้องเปียกปอนบ้าง หากเราไม่ต้องการเปียกฝน ผมจะไม่แนะนำว่าให้พกร่มไป แต่ผมจะแนะว่าอย่าออกไปข้างนอกโดนฝน"
ถุงยางป้องกันการติดเชื้อ HIV ได้แค่ไหนครับ ?
จาก http://zaa.xq28.org/viewtopic.php?f=3&t=2432
... ก่อนอื่นเราควรเข้าใจถึงลักษณะของวัตถุดิบที่นำมาผลิตถุงยาง ถ้าส่องกล้องจุลทรรศน์ จะพบว่าเยื่อถุงยางสามารถป้องกันน้ำอสุจิและเชื้ออสุจิไม่ให้ผ่านไปได้ แต่ก็ไม่สามารถป้องกันไม่ให้เชื้อไวรัสที่มีขนาดเล็กมากเล็ดลอดผ่าน ดังนั้น ถุงยางอนามัยจึงมีประสิทธิภาพสูงในการป้องกันการตั้งครรภ์ แต่นี่ไม่ได้หมายความว่ามันจะสามารถป้องกันการติดกามโรคได้ 100% ดังนั้น
1. มีโรคติดต่อทางเพศบางประเภทที่ติดต่อผ่านผิวสัมผัสที่ไม่ได้ปกคลุมด้วยถุงยาง
2. การสวมถุงยางที่ผิดวิธี โดยเฉพาะเมื่อกำลังหน้ามืดตามัวอยากจะสำเร็จภารกิจ การใส่ผิดวิธีจะทำให้ถุงยางเกิดรั่วได้
3. ในส่วนของโรคเอดส์ ผลการวิจัยพบว่า ถุงยางป้องกันการติดเชื้อ HIV ได้แค่ 80%
ศาสตราจารย์ ดร. Jokin de Irala ผู้เชี่ยวชาญโรคติดต่อจากสเปนพบว่า การสอนให้วัยรุ่นใช้ถุงยางอนามัยเพื่อป้องกันโรคอาจจะเป็นดาบสองคม เพราะนั่นหมายถึง"ใบเบิกทางให้มีเพศสัมพันธ์โดยไม่รู้สึกตะขิดตะขวงหรือหวาดกลัวโรคอีกต่อไป" ซึ่งนั่นเป็นสิ่งที่ไม่สมควรอย่างยิ่ง
ในหนังสือชื่อว่า Difficult Moral Questions ของนักปรัชญา Germain Grisez ได้ยกตัวอย่างเพื่อชี้ให้เห็นว่าการใช้ถุงยางอนามัยอาจจะไม่เพียงพอ โดยเขาเปรียบเทียบว่า "ในกรณีฝนตก แม้เราถือร่มก็ไม่อาจช่วยปกป้องเราจากน้ำฝนได้เต็มร้อย แม้เราจะใช้แรงถือร่มแค่ไหน แต่ลมฝนก็จะทำให้เราต้องเปียกปอนบ้าง หากเราไม่ต้องการเปียกฝน ผมจะไม่แนะนำว่าให้พกร่มไป แต่ผมจะแนะว่าอย่าออกไปข้างนอกโดนฝน"