จากกระทู้ข้างต้น
http://ppantip.com/topic/32953600
จากการที่สำนักพิมพ์การ์ตูน Siam Inter multimedia ได้เปิดตัว C-kids express กับ ปรับการลงการ์ตูนในนิตยสาร C-kids ให้ทันนิตยสารการ์ตูนต้นสังกัด Jump ของญี่ปุ่นแล้ว ทำให้ไม่ใช่แค่เป็นการเพิ่มอำนาจการซื้อ,การยกระดับการตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนและความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์(LC.) ต่างๆนาๆ
ผมมาลองมาคิดดูว่าจริงอยู่ที่อาจเป็นการพัฒนาการต่อต้านการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นการแย่งลูกค้าที่ซื้อหนังสือการ์ตูนที่มาจากความต้องการการซื้อและดูหนังสือการ์ตูนของคนเรามันมากกว่าที่สำนักพิมพ์มีกำลังการตีพิมพ์,เวลาความสะดวกสบาย,ลูกค้าที่มีทั้งจำนวนเงิน+ตู้เก็บหนังสือที่จำกัดและการซื้อLC. ก็ตามแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะแก้ไขปัญหานี้ได้หมด
แต่ๆว่าผมก็เกิดความคิดเชิงเหรียญ2ด้านเกี่ยวกับการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตว่าถึงจะมีความได้เปรียบมากกว่าการ์ตูนที่ต้องตีพิมพ์ลงในแผ่นกระดาษหลายๆแผ่น ทั้งด้านเวลาที่ต้องการอ่านการ์ตูนแบบเร็วๆก็ทำได้เลย,ด้านกำลังเงินของลูกค้าที่ไม่เท่ากันแล้วก็ต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาที่มาจากสำนักพิมพ์เองด้วย (เอาจริงๆแล้ว ปัญหาเรื่องเงิน/ราคา คนแปลการ์ตูน รูปแบบรวมเล่ม ทางภายในสำนักพิมพ์นั้นเป็นปัจจัยที่ทางเจ้าของสำนักพิมพ์ควบคุมได้)
แน่นอนว่าการ์ตูนสแกนลงในอินเตอร์เน็ตนั้นก็มีข้อจำกัดหลักๆอยู่ 5 ข้อสำหรับผม
1.ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ อันนี้แน่นอนอยู่แล้ว
2.ถ้าไม่มีอินเตอร์เน็ตต่อกับคอมฯหรือ Smart phoneต่อเน็ตไม่ได้ คนอ่านสแกนก็อ่านไม่ได้
3.คนแปลสแกน ต้องไปเรียนภาษาญี่ปุ่นหรือไม่ก็จีนมาค่อนข้างดีถึงจะแปลได้และมีโอกาสสูงที่ถ้าแปลไม่ดี คนอ่านก็อ่านไม่รู้เรื่อง
4.ภาษาที่แปลชื่อเฉพาะต่างๆที่อยู่ในเรื่องนั้นๆอาจมีความสละสลวยไม่เท่ากับฉบับลิขสิทธิ์ ตัวอย่างเช่นชื่อเฉพาะในเรื่อง เทพมรณะของ NED ชื่อทั้งดาบฟันวิญญาณ/ชื่อปลดปล่อยสวัสดิกะ ชื่อท่าต่างๆ พอแปลมาเป็นชื่อไทยกลายมาเป็นชื่อที่มีความสละสลวยทางภาษามากกว่าแบบแปลเป็นภาษาอื่นๆอีก
5.จำนวนคนแปลสแกนจะแปรผันตามเวลาที่การ์ตูนจะสแกนเสร็จแล้วลงในเน็ตแล้ว มีคนเยอะก็สแกนลงในเน็ตได้เลย
แล้วแต่ละคนคิดว่า"ข้อจำกัด"ของการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตมีนอกเหนือจากที่ผมคิดไว้มีอะไรบ้างครับ?
ข้อจำกัดเกี่ยวกับการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ต
จากการที่สำนักพิมพ์การ์ตูน Siam Inter multimedia ได้เปิดตัว C-kids express กับ ปรับการลงการ์ตูนในนิตยสาร C-kids ให้ทันนิตยสารการ์ตูนต้นสังกัด Jump ของญี่ปุ่นแล้ว ทำให้ไม่ใช่แค่เป็นการเพิ่มอำนาจการซื้อ,การยกระดับการตีพิมพ์หนังสือการ์ตูนและความเป็นเจ้าของลิขสิทธิ์(LC.) ต่างๆนาๆ
ผมมาลองมาคิดดูว่าจริงอยู่ที่อาจเป็นการพัฒนาการต่อต้านการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตซึ่งเป็นการแย่งลูกค้าที่ซื้อหนังสือการ์ตูนที่มาจากความต้องการการซื้อและดูหนังสือการ์ตูนของคนเรามันมากกว่าที่สำนักพิมพ์มีกำลังการตีพิมพ์,เวลาความสะดวกสบาย,ลูกค้าที่มีทั้งจำนวนเงิน+ตู้เก็บหนังสือที่จำกัดและการซื้อLC. ก็ตามแต่ก็ไม่ได้หมายความว่าจะแก้ไขปัญหานี้ได้หมด
แต่ๆว่าผมก็เกิดความคิดเชิงเหรียญ2ด้านเกี่ยวกับการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตว่าถึงจะมีความได้เปรียบมากกว่าการ์ตูนที่ต้องตีพิมพ์ลงในแผ่นกระดาษหลายๆแผ่น ทั้งด้านเวลาที่ต้องการอ่านการ์ตูนแบบเร็วๆก็ทำได้เลย,ด้านกำลังเงินของลูกค้าที่ไม่เท่ากันแล้วก็ต้องการหลีกเลี่ยงปัญหาที่มาจากสำนักพิมพ์เองด้วย (เอาจริงๆแล้ว ปัญหาเรื่องเงิน/ราคา คนแปลการ์ตูน รูปแบบรวมเล่ม ทางภายในสำนักพิมพ์นั้นเป็นปัจจัยที่ทางเจ้าของสำนักพิมพ์ควบคุมได้)
แน่นอนว่าการ์ตูนสแกนลงในอินเตอร์เน็ตนั้นก็มีข้อจำกัดหลักๆอยู่ 5 ข้อสำหรับผม
1.ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ อันนี้แน่นอนอยู่แล้ว
2.ถ้าไม่มีอินเตอร์เน็ตต่อกับคอมฯหรือ Smart phoneต่อเน็ตไม่ได้ คนอ่านสแกนก็อ่านไม่ได้
3.คนแปลสแกน ต้องไปเรียนภาษาญี่ปุ่นหรือไม่ก็จีนมาค่อนข้างดีถึงจะแปลได้และมีโอกาสสูงที่ถ้าแปลไม่ดี คนอ่านก็อ่านไม่รู้เรื่อง
4.ภาษาที่แปลชื่อเฉพาะต่างๆที่อยู่ในเรื่องนั้นๆอาจมีความสละสลวยไม่เท่ากับฉบับลิขสิทธิ์ ตัวอย่างเช่นชื่อเฉพาะในเรื่อง เทพมรณะของ NED ชื่อทั้งดาบฟันวิญญาณ/ชื่อปลดปล่อยสวัสดิกะ ชื่อท่าต่างๆ พอแปลมาเป็นชื่อไทยกลายมาเป็นชื่อที่มีความสละสลวยทางภาษามากกว่าแบบแปลเป็นภาษาอื่นๆอีก
5.จำนวนคนแปลสแกนจะแปรผันตามเวลาที่การ์ตูนจะสแกนเสร็จแล้วลงในเน็ตแล้ว มีคนเยอะก็สแกนลงในเน็ตได้เลย
แล้วแต่ละคนคิดว่า"ข้อจำกัด"ของการ์ตูนที่สแกนลงในอินเตอร์เน็ตมีนอกเหนือจากที่ผมคิดไว้มีอะไรบ้างครับ?