ลูกสาวมาปรึกษาเรื่องทำโครงการวิทยาศาสตร์(ม.2) สรุปว่า อ.ให้ทำเครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า ระบบไฟฟ้าผมไม่มีปัญหา เพราะเป็นอาชีพผมอยู่แล้ว
ผมก็ลองทำ เครื่อง prototype โดยตัดขวดน้ำ ขนาด 500ml.เป็นภาชนะ ใส่น้ำเกลือ แล้วใช้สายไฟ ทองแดงแข็ง ปลอกฉนวนปลายสายออกประมาณ
4 cm.จุ่มปลายสายทั้งสองลงในสารละลาย จ่ายไฟ + / - 24 V. กระแส อยู่ประมาณ 3 - 400 mA.สังเกตุผลการทดลอง เห็นมีฟองอากาศที่ขั้วลบจำนวนมาก
แต่ที่ขั้วบวก มีฟองอากาศออกน้อยมาก
จึงมีปัญหาจะปรึกษาดังนี้ครับ
1. ที่ขั้วบวกทำไมจึงมีฟองอากาศออกน้อยมาก ทั้งๆที่ควรจะ มีครึ่งหนึ่งของ ฟองอากาศที่ขั้วลบ
2. สารละลายที่ใช้ ถ้าใช้เกลือแกง ข้อดีคือ หาง่าย ไม่เป็นอันตราย แต่เท่าที่ค้นดูจากใน web.บ่างที่บอกว่า ที่ขั้วบวก แทนที่จะได้ ออกซิเจน กับจะได้ ก๊าสคลอรีน แทน
มีวิธีแก้ไขอย่างไรครับ
3.ขั้วไฟฟ้า ที่จุ่มอยู่ในสารละลาย ใช้ทองแดงทั้งสองขั้วมีผลต่อการทดลองหรือไม่ เห็นบาง web.บอกว่า ขั้วบวกใช้ทองแดง ขั้วลบใช้สแตนเลส ขอทราบเหตุผลด้วยครับ
ว่าทำไมต้องเป็น โลหะสองตัวนี้
4. ถ้าผมใช้ สแตนเลส เป็นขั้วไฟฟ้า ทั้ง สองขั้ว จะดีกว่าหรือไม่ในด้านความคงทน
ขอบคุณทุกท่านครับ
ปรึกษาเรื่องช่วยลูกสาวทำการบ้าน เครื่องแยกน้ำด้วยไฟฟ้า ครับ
ผมก็ลองทำ เครื่อง prototype โดยตัดขวดน้ำ ขนาด 500ml.เป็นภาชนะ ใส่น้ำเกลือ แล้วใช้สายไฟ ทองแดงแข็ง ปลอกฉนวนปลายสายออกประมาณ
4 cm.จุ่มปลายสายทั้งสองลงในสารละลาย จ่ายไฟ + / - 24 V. กระแส อยู่ประมาณ 3 - 400 mA.สังเกตุผลการทดลอง เห็นมีฟองอากาศที่ขั้วลบจำนวนมาก
แต่ที่ขั้วบวก มีฟองอากาศออกน้อยมาก
จึงมีปัญหาจะปรึกษาดังนี้ครับ
1. ที่ขั้วบวกทำไมจึงมีฟองอากาศออกน้อยมาก ทั้งๆที่ควรจะ มีครึ่งหนึ่งของ ฟองอากาศที่ขั้วลบ
2. สารละลายที่ใช้ ถ้าใช้เกลือแกง ข้อดีคือ หาง่าย ไม่เป็นอันตราย แต่เท่าที่ค้นดูจากใน web.บ่างที่บอกว่า ที่ขั้วบวก แทนที่จะได้ ออกซิเจน กับจะได้ ก๊าสคลอรีน แทน
มีวิธีแก้ไขอย่างไรครับ
3.ขั้วไฟฟ้า ที่จุ่มอยู่ในสารละลาย ใช้ทองแดงทั้งสองขั้วมีผลต่อการทดลองหรือไม่ เห็นบาง web.บอกว่า ขั้วบวกใช้ทองแดง ขั้วลบใช้สแตนเลส ขอทราบเหตุผลด้วยครับ
ว่าทำไมต้องเป็น โลหะสองตัวนี้
4. ถ้าผมใช้ สแตนเลส เป็นขั้วไฟฟ้า ทั้ง สองขั้ว จะดีกว่าหรือไม่ในด้านความคงทน
ขอบคุณทุกท่านครับ