"กลบท สร้อยคู่สะคราญ"
ข้อบัญญัติ : บัญญัติพิเศษเพิ่มจากกลอนทั่วไป คือ
๑. บาทเอก (วรรค สดับ และวรรค รับ) ให้ช่วงท้าย ๓ คำ แต่ละวรรค เล่นล้ออักษรกัน โดยสองคำแรกของช่วงท้าย ซ้ำกัน
และคำที่สาม สัมผัสล้ออักษรกันธรรมดา ( เช่น ให้หมองหม่น ให้หมองไหม้)
๒. บาทโท (วรรครอง และวรรคส่ง) ก็ยึดหลักเดียวกันบาทเอก โดยอักษรสามคำท้ายวรรคที่เล่นไม่จำเป็นต้องเป็นกลุ่มเดียวกับบาทเอก
(เช่น สลัวใจ สลัวจาง)
* อ้างอิง : กลบทสร้อยคู่สะคราญ ได้รับการคิดประดิษฐ์ขึ้นมาโดย คุณชาญชนะ ฆังคะโชติ ปรากฏที่มาในหนังสือ "ลีลา อารมณ์"
@...วันฟ้าหลัว...@
"กลบท สร้อยคู่สะคราญ"
ข้อบัญญัติ : บัญญัติพิเศษเพิ่มจากกลอนทั่วไป คือ
๑. บาทเอก (วรรค สดับ และวรรค รับ) ให้ช่วงท้าย ๓ คำ แต่ละวรรค เล่นล้ออักษรกัน โดยสองคำแรกของช่วงท้าย ซ้ำกัน
และคำที่สาม สัมผัสล้ออักษรกันธรรมดา ( เช่น ให้หมองหม่น ให้หมองไหม้)
๒. บาทโท (วรรครอง และวรรคส่ง) ก็ยึดหลักเดียวกันบาทเอก โดยอักษรสามคำท้ายวรรคที่เล่นไม่จำเป็นต้องเป็นกลุ่มเดียวกับบาทเอก
(เช่น สลัวใจ สลัวจาง)
* อ้างอิง : กลบทสร้อยคู่สะคราญ ได้รับการคิดประดิษฐ์ขึ้นมาโดย คุณชาญชนะ ฆังคะโชติ ปรากฏที่มาในหนังสือ "ลีลา อารมณ์"