สวัสดีคร้าบบบ ก่อนหน้านี้ผมเคยเขียนรีวิวเกี่ยวกับเว็บ E-Book ของญี่ปุ่นไปแล้ว
คราวนี้ก็มาถึงหนังสือการ์ตูนค่ายลิขสิทธิ์ของไทยบ้างล่ะ
ไม่รู้ว่าเป็นข้อดีหรือข้อเสียที่ค่ายลิขสิทธิ์ในบ้านเราใช้บริการการจัดวางขายด้วยระบบเดียวกันคือจากเว็บ www.mebmarket.com
เพราะฉะนั้นนอกจากหนังสือแล้ว อย่างอื่นก็คล้ายๆกันไปหมด ^^"
มองอีกแง่ก็ดีเหมือนกันเพราะแอคเคาท์เดียวก็เอาหนังสือของทุกค่ายมาไว้อยู่ด้วยกันเลย
ระบบของmebก็คล้ายๆกับเว็บE-Bookอื่นๆทั่วไป สมัครโดยใช้e-mailเป็นAccount
สามารถดาวน์โหลดหนังสือได้จากช่องทางต่างๆ เช่นในเว็บเลย,iOS,Android (เห็นว่าจะรองรับวินโดว์โฟนด้วย)
ใช้อ่านบนdeviceผ่านแอพฯหรือผ่านคอมโดยใช้โปรแกรมที่จากในเว็บครับ
ส่วนการชำระเงินก็เป็นแบบ In-Apps Purchased ในiOS หรือจะผ่านบัตรเครดิต Paypal 9ล9 ไปจนกระทั่งเคาน์เตอร์เซอร์วิสเลยทีเดียว
ที่เอามารีวิวจะเป็นหน้าตาจากในแอพฯของแต่ละสนพ.ในiOSนะครับ เรียงจากซ้ายไปขวา VBK-SIC-NED-บงกช
หน้าStore หน้าตาเหมือน App Store ของแอปปู้
ราคาหนังสือ จากในแอพฯ การ์ตูนทั่วไปจะอยู่ที่ 0.99 เหรียญ แต่ถ้าจากในเว็บจะราคาประมาณ 30-60 บาท
ส่วนมากราคาจะถูกกว่าแบบเล่มจริงนิดหน่อย
ยตย. 7บาปแบบเล่มจริงหน้าปก 55 บาท ส่วนแบบE-Bookจะ 35 บาทครับ
ไลท์โนเวลที่มีลงในเว็บยังมีไม่เท่าไร เพราะค่ายใหญ่บ้านเราที่ลงตลาดนี้มีแค่บงกช
แถมยังลงไม่ค่อยเยอะด้วย ที่เห็นตอนนี้เด่นๆคือฮารุฮิกับบากะเทสฯ
หน้าตาชั้นหนังสือ
ลงกดอ่านดู ความคมชัดของไฟล์อยู่ในระดับดีทีเดียว
ภายใน
แบบLN
สีที่แสดงผลเลือกได้สามแบบคือNormal,Sepia(แนวๆกระดาษกรีนรี้ด ออกเหลืองๆน้ำตาลหน่อยๆ)
และNight(มีไว้ทำไมเนี่ย อ่านตอนกลางคืนเรอะ = =") แบบDefault แอพฯจะตั้งเป็นSepiaมาให้
ลูกเล่นที่คิดว่าแปลกดีคือมีโหมด Draw ไว้ขีดเขียดปาดได้ อาจจะเอาไว้เน้นหรือจับผิด
สรุปคร่าวๆแล้ว ถือว่าหนังสือการ์ตูนค่ายลิขสิทธิ์ในรูปแบบE-Bookนั้นพัฒนามามากเลยทีเดียว
จะขาดก็คงเป็นเรื่องปกหนังสือที่ลงขาย ยังมีไม่เยอะเท่าไร แนวแม่เหล็กดึงดูดคนก็ยังถือว่าน้อยเกินกว่าจะจูงใจคน
แต่กเข้าใจว่าคงเป็นเรื่องการเจรจาระหว่างเจ้าของลิขสิทธิ์ทางฝั่งญี่ปุ่นว่าจะอนุญาตอะไรยังไง
ตรงนี้ขอชมวิบูลย์กิจที่ลงของใหม่ๆและน่าสนใจพอจะดึงดูดคนได้
อย่าง 7บาป (คราวนี้จ่าก็หาซื้อได้แบบไม่ต้องออกจากเกาะแล้ว
) หรือGE เป็นต้น
และถ้าฝั่งสนพ.LNมาลงตลาดตรงนี้ด้วย อาจจะคึกคักขึ้นพอสมควร
ก็ต้องรอดูกันต่อไปนะครับ ว่าE-Bookในบ้านเราจะพัฒนาไปในแนวทางไหน
[CR] รีวิ๊ววววรีวิววววว เว็บ E-Book ไทย
คราวนี้ก็มาถึงหนังสือการ์ตูนค่ายลิขสิทธิ์ของไทยบ้างล่ะ
ไม่รู้ว่าเป็นข้อดีหรือข้อเสียที่ค่ายลิขสิทธิ์ในบ้านเราใช้บริการการจัดวางขายด้วยระบบเดียวกันคือจากเว็บ www.mebmarket.com
เพราะฉะนั้นนอกจากหนังสือแล้ว อย่างอื่นก็คล้ายๆกันไปหมด ^^"
มองอีกแง่ก็ดีเหมือนกันเพราะแอคเคาท์เดียวก็เอาหนังสือของทุกค่ายมาไว้อยู่ด้วยกันเลย
ระบบของmebก็คล้ายๆกับเว็บE-Bookอื่นๆทั่วไป สมัครโดยใช้e-mailเป็นAccount
สามารถดาวน์โหลดหนังสือได้จากช่องทางต่างๆ เช่นในเว็บเลย,iOS,Android (เห็นว่าจะรองรับวินโดว์โฟนด้วย)
ใช้อ่านบนdeviceผ่านแอพฯหรือผ่านคอมโดยใช้โปรแกรมที่จากในเว็บครับ
ส่วนการชำระเงินก็เป็นแบบ In-Apps Purchased ในiOS หรือจะผ่านบัตรเครดิต Paypal 9ล9 ไปจนกระทั่งเคาน์เตอร์เซอร์วิสเลยทีเดียว
ที่เอามารีวิวจะเป็นหน้าตาจากในแอพฯของแต่ละสนพ.ในiOSนะครับ เรียงจากซ้ายไปขวา VBK-SIC-NED-บงกช
หน้าStore หน้าตาเหมือน App Store ของแอปปู้
ราคาหนังสือ จากในแอพฯ การ์ตูนทั่วไปจะอยู่ที่ 0.99 เหรียญ แต่ถ้าจากในเว็บจะราคาประมาณ 30-60 บาท
ส่วนมากราคาจะถูกกว่าแบบเล่มจริงนิดหน่อย
ยตย. 7บาปแบบเล่มจริงหน้าปก 55 บาท ส่วนแบบE-Bookจะ 35 บาทครับ
ไลท์โนเวลที่มีลงในเว็บยังมีไม่เท่าไร เพราะค่ายใหญ่บ้านเราที่ลงตลาดนี้มีแค่บงกช
แถมยังลงไม่ค่อยเยอะด้วย ที่เห็นตอนนี้เด่นๆคือฮารุฮิกับบากะเทสฯ
หน้าตาชั้นหนังสือ
ลงกดอ่านดู ความคมชัดของไฟล์อยู่ในระดับดีทีเดียว
ภายใน
แบบLN
สีที่แสดงผลเลือกได้สามแบบคือNormal,Sepia(แนวๆกระดาษกรีนรี้ด ออกเหลืองๆน้ำตาลหน่อยๆ)
และNight(มีไว้ทำไมเนี่ย อ่านตอนกลางคืนเรอะ = =") แบบDefault แอพฯจะตั้งเป็นSepiaมาให้
ลูกเล่นที่คิดว่าแปลกดีคือมีโหมด Draw ไว้ขีดเขียดปาดได้ อาจจะเอาไว้เน้นหรือจับผิด
สรุปคร่าวๆแล้ว ถือว่าหนังสือการ์ตูนค่ายลิขสิทธิ์ในรูปแบบE-Bookนั้นพัฒนามามากเลยทีเดียว
จะขาดก็คงเป็นเรื่องปกหนังสือที่ลงขาย ยังมีไม่เยอะเท่าไร แนวแม่เหล็กดึงดูดคนก็ยังถือว่าน้อยเกินกว่าจะจูงใจคน
แต่กเข้าใจว่าคงเป็นเรื่องการเจรจาระหว่างเจ้าของลิขสิทธิ์ทางฝั่งญี่ปุ่นว่าจะอนุญาตอะไรยังไง
ตรงนี้ขอชมวิบูลย์กิจที่ลงของใหม่ๆและน่าสนใจพอจะดึงดูดคนได้
อย่าง 7บาป (คราวนี้จ่าก็หาซื้อได้แบบไม่ต้องออกจากเกาะแล้ว ) หรือGE เป็นต้น
และถ้าฝั่งสนพ.LNมาลงตลาดตรงนี้ด้วย อาจจะคึกคักขึ้นพอสมควร
ก็ต้องรอดูกันต่อไปนะครับ ว่าE-Bookในบ้านเราจะพัฒนาไปในแนวทางไหน