คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
แนะนำว่า แต่งไปก่อนครับ
การเป็นคดีประเภทนี้ ไม่เกิดผลดีกับทั้งผู้กระทำและผู้ถูกกระทำ
เสียทั้งคู่
แล้วถ้าอยู่ด้วยกันไม่ได้จริงๆ ค่อยหย่า
โดยรับผิดชอบในสิ่งที่ทำลงไป
คงต้องจ่ายสินสอด (ตอนแต่ง)
และ-หรือค่าเลี้ยงดูบุตร (ถ้ามี)
เลือกเอาครับ
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปี ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจาร ตาม ป.อ.มาตรา 319
โดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยนั้น ต้องระวางโทษจำคุกอย่างต่ำ 2 ปี และปรับอย่างต่ำ 4,000 บาท
การเป็นคดีประเภทนี้ ไม่เกิดผลดีกับทั้งผู้กระทำและผู้ถูกกระทำ
เสียทั้งคู่
แล้วถ้าอยู่ด้วยกันไม่ได้จริงๆ ค่อยหย่า
โดยรับผิดชอบในสิ่งที่ทำลงไป
คงต้องจ่ายสินสอด (ตอนแต่ง)
และ-หรือค่าเลี้ยงดูบุตร (ถ้ามี)
เลือกเอาครับ
ความผิดฐานพรากผู้เยาว์อายุกว่า 15 ปี แต่ยังไม่เกิน 18 ปี ไปเสียจากบิดามารดาเพื่อการอนาจาร ตาม ป.อ.มาตรา 319
โดยผู้เยาว์เต็มใจไปด้วยนั้น ต้องระวางโทษจำคุกอย่างต่ำ 2 ปี และปรับอย่างต่ำ 4,000 บาท
แสดงความคิดเห็น
อยากขอคำปรึกษา คดีพรากผู้เยาว์ค่ะ
อยากทราบว่า...
-คดีพรากผู้เยาว์สามารถฟ้องร้องให้แต่งงานได้หรือไม่ค่ะ (ฝ่ายหญิงบอกจะไม่รับเงิน)
-ฝ่ายชายอายุเกิน18แต่ไม่ถึง20 จะได้รับโทษอะไรบ้างค่ะ ถ้าไม่รับผิดชอบ
-แล้วฝ่ายชายจะเสียประวัติไหมค่ะ ถ้าเกิดการฟ้องร้องขึ้นศาล
-ถ้าฝ่ายหญิงท้อง กับ ไม่ท้อง ความรุนแรงทางคดีความจะแตกต่างกันไหมค่ะ หรือโทษเท่ากันคือคดีพรากผู้เยาว์
ปล.น้องชายเราไม่ได้เรียนหนังสือแล้ว ตอนนี้กำลังทำงานช่วยที่บ้าน