สายลมที่หวังดี - ทราย เจริญปุระ
ในท้องทะเลทรายที่ Death Valley
มีก้อนหินหลายสิบโหลที่เดินได้
ซึ่งสร้างความประหลาดใจ
ให้กับผู้คนมานานหลายสิบปีแล้ว
ก้อนหินเหล่านี้ยังทิ้งร่องรอยเป็นทางเดินยาว
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลายครั้งที่นี้
ไม่มีใครทราบ/ระบุได้ชัดเจนว่า
มีอะไรที่ผลักดันให้หินเดินได้
ตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์หลายคน
ต่างร่วมกันวิจัยและสรุปสาเหตุ
จนอธิบายปรากฎการณ์เรื่องนี้ได้ว่า
ก้อนหินเดินได้มาจากสาเหตุ
ช่วงที่ทะเลทรายน้ำท่วมขัง
ก้อนหินบางก้อนที่ถูกน้ำซึมผ่านด้านล่าง
เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง
ก้อนหินบางก้อนก็จะยกตัวขึ้นด้วยน้ำแข็ง
เพราะก้อนหินเหมือนวางอยู่บนแผ่นน้ำแข็ง
เมื่อน้ำในทะเลทรายละลายบางส่วน
ก้อนหินบางก้อนจะลอยละล่องไปมา
ในแอ่งน้ำเพราะสายลมที่พัดผ่านในบริเวณนั้น
ข้อสันนิษฐานเดิมเรื่องก้อนหินเดินได้
ไม่เป็นที่ยอมรับแล้วคือ
มาจากแรงลมกลางคืน/แรงพายุเฮอริเคน
ที่พัดผ่านผืนแผ่นดินทะเลทรายแห่งนี้
แต่ก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่อธิบายเรื่องนี้ไม่ได้ชัดเจนคือ
เรื่องทิศทางที่แตกต่างกันมาก
เช่น ไปมาหลายทิศหลายทาง
มีการเดินแบบหักศอก
มีการเดิน/วิ่งไปมาเหมือนใช้สเก็ตน้ำแข็ง
ย้อนกลับไปในปี 2011(2554)
มีนักวิทยาศาสตร์รายหนึ่ง
ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการทดสอบ
สมมุติฐานเรื่องก้อนหินเดินได้
บนพื้นทรายที่ใส่ไว้ในกล่องใส่อาหาร Tupperware
แต่ยังมีข้อขัดแย้ง/คัดค้านมากมาย
แต่ในตอนนี้ได้เปิดเผยเรื่องลึกลับ
เรื่องก้อนหินเดินได้บนท้องทะเลทราย
โดยมีการตีพิมพ์เผยแพร่ใน PLOS ONE
http://goo.gl/Z0MKZs
นักวิทยาศาตร์หลายคนทำงานกันเป็นทีม
ร่วมสังเกตการณ์/วิจัยเรื่องนี้ตั้งแต่เมื่อ 4 ปีก่อน
1 ในทีมงานคือ นักวิทยาศาสตร์คนที่ตั้งข้อสมมุติฐาน
เรื่องก้อนหินเดินได้จากการทดลอง
บนพื้นทรายที่ใส่ไว้ในกล่องใส่อาหาร
นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองและตรวจสอบ
โดยการติดตั้งกล้องถ่ายภาพไว้หลายจุดในพื้นที่เป้าหมายการวิจัย
พร้อมติดกล่องติดตาม GPS บนก้อนหินหลายลูก
บนพื้นผิวท้องทะเลทรายบริเวณ Racetrack Playa
ตัวอย่างหนึ่งกล่องติดตาม GPS
หรือชื่อเล่น เครื่องติดตามกิ๊ก
(ขออนุญาตไม่ระบุที่มาเพราะอาจจะเข้าข่ายการโฆษณา)
ระบบการติดตามผ่าน GPS เมื่อติดตั้งอุปกรณ์แล้ว
Credit :
http://goo.gl/HgDDgg
ทีมงานต่างตั้งความหวังไว้ล่วงหน้าว่า
กล้องถ่ายภาพกับกล่องอุปกรณ์ GPS
จะทำงานร่วมกันแล้วเปิดเผยความลับครั้งนี้ได้
ในเดือนธันวาคม ปี 2013(2556)
กล้องถ่ายภาพจับภาพเหตุการณ์จริงได้
พร้อมกับมีค่าวัดตามมาตรวัดต่าง ๆ ที่ต้องการ
เพื่อพิสูจน์เรื่องก้อนหินเดินได้
ก้อนหินบางก้อนถูกน้ำซึมผ่านข้างใต้
เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็งแล้ว
ก้อนหินบางก้อนจึงเหมือนมีแผ่นน้ำแข็งวางรองรับไว้
เมื่อน้ำท่วมทะเลทรายเริ่มละลายตัวลง
สายลมที่พัดผ่านแอ่งน้ำในบริเวณนี้
จะทำให้ก้อนหินที่อยู่บนแผ่นน้ำแข็งชั้นบาง ๆ ลื่นไถลไปได้
ทำให้เกิดร่องรอยการครูดบนชั้นทรายที่เหลว/นุ่ม
ส่วนก้อนหินบางก้อนก็อาจจะถูกกระแทกให้เคลื่อนที่
โดยแผ่นน้ำแข็งก้อนที่แตกสลายที่ล่องลอยในแอ่งน้ำ
นักวิจัยสังเกตพบว่า
แผ่นผื้นน้ำแข็งเป็นชั้นบาง ๆ
จะหนาเหมือนแผ่นกระจกประมาณ 3-6 มิลลิเมตร
จะก่อตัวขึ้นบนพื้นดินทะเลทรายใน Racetrack Playa
เป็นผลมาจากฝนตกแล้วน้ำท่วมขังในเดือนพฤศจิกายน
แต่ถ้าปีไหนไม่มีฝนตกเลย จะไม่พบเห็นก้อนหินเดินได้
ในตอนกลางคืน/กลางวัน
ในวันที่มีอากาศหนาวเย็นมาก
พื้นที่ชุ่มน้ำจะเริ่มกลายเป็นน้ำแข็ง
แต่พอในเดือนธันวาคม
น้ำแข็งจะเริ่มละลายบางส่วน
และบางส่วนกลายเป็นแอ่งน้ำ
อยู่บนผิวดินท้องทะเลทราย
ก้อนหินที่อยู่บนก้อนน้ำแข็งส่วนหนึ่ง
จะเริ่มเดินได้ต้องมีความเร็วลมต่อเนื่องอย่างน้อย 10 เมตรต่อนาที
จึงจะทำให้ก้อนหินเคลื่อนที่ได้อย่างช้า ๆ 2-5 เมตรต่อนาที
ก้อนหินบางก้อนเดินไปได้ไกลถึง 200 ฟุต
น้ำหนักหินที่ลื่นไถลกดทับทะเลทรายที่กลายเป็นโคลน
พอดินแห้งแข็งก็จะเห็นร่องรอยทางเดินของก้อนหิน
ปรากฏการณ์นี้จะสิ้นสุดช่วงมกราคม-มีนาคม
ขึ้นอยู่กับน้ำแข็งในพื้นที่แห่งนี้
ไม่กลายเป็นน้ำทั้งหมด
ที่ละลายซึมลงผิวดิน/ระเหยไปบางส่วน
เพราะแสงแดดที่สาดส่อง
และกระแสลมที่พัดผ่าน
ด้วยความเร็วลม 4-5 เมตรต่อวินาที
(เหตุการณ์ก้อนหินเดินได้
ไม่ได้เกิดขึ้นตลอดทั้งปี)
Mystery of Death Valley's 'Sailing Stones' Solved
The Racetrack Playa's Sliding Rocks
How Rocks Move
แต่ที่นักวิทยาศาสตร์ยังหาคำตอบไม่ได้คือ
ทำไมก้อนหินขนาดใหญ่บางก้อน
จึงไม่ร่วมเดินขบวน
ไปด้วยกัน/มาด้วยกัน
ทั้งที่ก้อนหินอยู่บนพื้นแผ่นน้าแข็งชั้นบาง ๆ
และลอยอยู่บนแอ่งน้ำอย่างเห็นได้ชัด
ในช่วงลมพายุพัดผ่านพื้นผิวทะเลทรายแห่งนี้
เรื่องนี้ยังต้องรอค้นหาคำตอบเพิ่มเติม
ทำให้เรื่องก้อนหินเดินได้
บางก้อนยังคงเป็นเรื่องลึกลับ
ใน Racetrack Playa อีกต่อไป
หมายเหตุเพิ่มเติม
อาจเขียนไว้เพื่อขอเงินวิจัยเพิ่มเติมในภายหลัง
หรือไม่อยากทำลายความฝัน/จินตนาการคนอเมริกัน
ก้อนหินบางก้อนเดินไม่ได้
เพราะเหลี่ยมมุมหินฝังลึกในชั้นทราย
ที่กลายเป็นโคลนในหน้าฝน
แล้วถูกสะกัด/กั้นไม่ให้เดิน
ด้วยเศษหิน/วัสดุอื่น
แม้ว่าจะอยู่บนแผ่นน้ำแข็ง
ความลาดชันของพื้นที่
ถ้าดูด้วยสายตาคนเราจะเห็นเป็นที่ราบ
ให้รอตอนน้ำท่วมจะเห็นได้ชัดว่า
ที่ใดน้ำท่วมหนักเป็นที่ลุ่ม
ที่ใดน้ำท่วมไม่ถึงเป็นที่ดอน
คน ห.ใ มีประสบการณ์เรื่องนี้
ไร่สุวรรณวาจก (ปากช่อง)
ถ้าดูจากสายตาตรงด้านหน้าถนนใหญ่
มองตรงไปที่บ้านพักเจ้าหน้าที่ด้านหลัง
จะเห็นเป็นพื้นที่ราบตลอด
แต่หัวหน้าพืชไร่ข้าวโพด
(ท่านมาจากเมืองซัง (ตรัง)
เล่าให้ฟังว่ามีความต่างระดับถึง 4 เมตร
เพราะตอนพัฒนาพื้นที่แห่งนี้
มีการปรับระดับพื้นที่ให้ลาดชันลงมาเรื่อย ๆ
ที่ความเอียง 2 องศาตามคำแนะนำผู้เชี่ยวชาญฝรั่ง
ไร่นี้เดิมเป็นฟาร์มจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์
ก่อนถูกยึดทรัพย์ให้ตกเป็นของหลวง
เรียบเรียง/ที่มา
http://goo.gl/XO2rlE
http://goo.gl/nXDJkY
http://goo.gl/aAIZVk
ภาพและข้อมูลเพิ่มเติม
View from the ‘source hill’ on the south shore of Racetrack Playa.
View is looking north on December 20, 2013 at 3:15 pm. Steady,
light wind, 4–5 m/s has blown water to the northeast exposing newly formed rock trails.
Lower image shows overlay of lines to emphasize the congruent shape of adjacent rock trails
as well as the proximity of rock trails to rocks that did not move. Image has not been enhanced.
Time lapse images of a moving rock.
Image acquired with a handheld digital camera on January 9, 2014.
Image on the left shows the wide-angle view; interior black frame indicates the view in other frames.
In close-up frames, blue arrows show stationary rocks and red arrow—a rock in motion (moving from left to right).
Total movement lasted ~18 seconds. Dark, flat areas on the pond are panels of ~3 mm thick ice surrounded
by rippled water several centimeters deep. Ice thickness estimated from inshore ice panels.
Broken ice panels accumulated on the upstream side of the moving rock in the last two images.
Images have been cropped but not otherwise edited.
Weather record from Racetrack Playa, Death Valley National Park.
Temperature (red line), 1 hour average wind velocity (black line), insolation (blue line)
and rainfall (filled blue line) for November 20, 2013 to January 9, 2014.
Wind gusts shown in Fig. 9. Red arrows indicate known rock movement events;
there have been additional movement events not recorded by direct observations.
Movement events 1 and 2 are recorded by instrumented rocks,
and direct observations were made for events 2–4.
Time lapse camera observation shows ~20 cm of snow accumulation on November 23.
Total precipitation is likely under-recorded because our weather station
does not record precipitation due to snow. Data reported in Table S1.
GPS-instrumented rock trajectories and velocity.
Top and middle panels are data collected by rocks (A3 and A6) on December 4, 2013;
bottom panels are for a rock movement on December 20, 2013 (Rock A11).
Times are UTC. Note the broadly similar trajectories and velocity histories for rocks on December 4.
Velocity errors are shown in Fig. 7. Data reported in Table S2. Rocks A3 and A6
moved at least once after their GPS instrument batteries were depleted
and had total trail lengths of 157.5 m and 162.4 m, respectively (Table 1).
Error analysis of GPS-instrumented rock movement events.
Note that the uncertainty in rock velocity is generally less than 0.2–0.3 m/minute
in comparison with the recorded 2–6 m/minute velocities
Gusts and average wind velocities.
Comparison of average hourly wind velocity (black, as shown in Fig. 4)
and hourly maximum wind velocity (green)
against the daily temperature record (red line)
and rock movement history (red arrows).
Data reported in Table S1.
Download ฉบับเต็มไฟล์ PDF ได้ที่
http://goo.gl/2Naulo
ปิดคดีก้อนหินเดินได้
สายลมที่หวังดี - ทราย เจริญปุระ
ในท้องทะเลทรายที่ Death Valley
มีก้อนหินหลายสิบโหลที่เดินได้
ซึ่งสร้างความประหลาดใจ
ให้กับผู้คนมานานหลายสิบปีแล้ว
ก้อนหินเหล่านี้ยังทิ้งร่องรอยเป็นทางเดินยาว
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นหลายครั้งที่นี้
ไม่มีใครทราบ/ระบุได้ชัดเจนว่า
มีอะไรที่ผลักดันให้หินเดินได้
ตอนนี้ นักวิทยาศาสตร์หลายคน
ต่างร่วมกันวิจัยและสรุปสาเหตุ
จนอธิบายปรากฎการณ์เรื่องนี้ได้ว่า
ก้อนหินเดินได้มาจากสาเหตุ
ช่วงที่ทะเลทรายน้ำท่วมขัง
ก้อนหินบางก้อนที่ถูกน้ำซึมผ่านด้านล่าง
เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็ง
ก้อนหินบางก้อนก็จะยกตัวขึ้นด้วยน้ำแข็ง
เพราะก้อนหินเหมือนวางอยู่บนแผ่นน้ำแข็ง
เมื่อน้ำในทะเลทรายละลายบางส่วน
ก้อนหินบางก้อนจะลอยละล่องไปมา
ในแอ่งน้ำเพราะสายลมที่พัดผ่านในบริเวณนั้น
Credit : Unknown
Credit : http://goo.gl/nxMl9U
ข้อสันนิษฐานเดิมเรื่องก้อนหินเดินได้
ไม่เป็นที่ยอมรับแล้วคือ
มาจากแรงลมกลางคืน/แรงพายุเฮอริเคน
ที่พัดผ่านผืนแผ่นดินทะเลทรายแห่งนี้
แต่ก็ยังมีอีกหลายประเด็นที่อธิบายเรื่องนี้ไม่ได้ชัดเจนคือ
เรื่องทิศทางที่แตกต่างกันมาก
เช่น ไปมาหลายทิศหลายทาง
มีการเดินแบบหักศอก
มีการเดิน/วิ่งไปมาเหมือนใช้สเก็ตน้ำแข็ง
ย้อนกลับไปในปี 2011(2554)
มีนักวิทยาศาสตร์รายหนึ่ง
ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ผลการทดสอบ
สมมุติฐานเรื่องก้อนหินเดินได้
บนพื้นทรายที่ใส่ไว้ในกล่องใส่อาหาร Tupperware
แต่ยังมีข้อขัดแย้ง/คัดค้านมากมาย
Credit : http://goo.gl/1k6VuH
กล่อง GPS ติดก้อนหินเดินได้ที่ Racetrack Playa Credit Jim Norris
แต่ในตอนนี้ได้เปิดเผยเรื่องลึกลับ
เรื่องก้อนหินเดินได้บนท้องทะเลทราย
โดยมีการตีพิมพ์เผยแพร่ใน PLOS ONE http://goo.gl/Z0MKZs
นักวิทยาศาตร์หลายคนทำงานกันเป็นทีม
ร่วมสังเกตการณ์/วิจัยเรื่องนี้ตั้งแต่เมื่อ 4 ปีก่อน
1 ในทีมงานคือ นักวิทยาศาสตร์คนที่ตั้งข้อสมมุติฐาน
เรื่องก้อนหินเดินได้จากการทดลอง
บนพื้นทรายที่ใส่ไว้ในกล่องใส่อาหาร
Image credit: Jim Norris
หินเดินได้ใน Death Valley
Credit : http://goo.gl/PEHPmh
นักวิทยาศาสตร์ได้ทำการทดลองและตรวจสอบ
โดยการติดตั้งกล้องถ่ายภาพไว้หลายจุดในพื้นที่เป้าหมายการวิจัย
พร้อมติดกล่องติดตาม GPS บนก้อนหินหลายลูก
บนพื้นผิวท้องทะเลทรายบริเวณ Racetrack Playa
ตัวอย่างหนึ่งกล่องติดตาม GPS
หรือชื่อเล่น เครื่องติดตามกิ๊ก
(ขออนุญาตไม่ระบุที่มาเพราะอาจจะเข้าข่ายการโฆษณา)
ระบบการติดตามผ่าน GPS เมื่อติดตั้งอุปกรณ์แล้ว
Credit : http://goo.gl/HgDDgg
ทีมงานต่างตั้งความหวังไว้ล่วงหน้าว่า
กล้องถ่ายภาพกับกล่องอุปกรณ์ GPS
จะทำงานร่วมกันแล้วเปิดเผยความลับครั้งนี้ได้
Credit : http://goo.gl/aAIZVk
แผนที่ Racetrack Playa พื้นที่เป้าหมาย
ด้านตอนเหนือของแอ่งน้ำ
ที่มีการติดตั้ง GPS กับก้อนหิน > 60 ก้อน
Credit : http://goo.gl/mavZnS
ในเดือนธันวาคม ปี 2013(2556)
กล้องถ่ายภาพจับภาพเหตุการณ์จริงได้
พร้อมกับมีค่าวัดตามมาตรวัดต่าง ๆ ที่ต้องการ
เพื่อพิสูจน์เรื่องก้อนหินเดินได้
ก้อนหินบางก้อนถูกน้ำซึมผ่านข้างใต้
เมื่อน้ำกลายเป็นน้ำแข็งแล้ว
ก้อนหินบางก้อนจึงเหมือนมีแผ่นน้ำแข็งวางรองรับไว้
เมื่อน้ำท่วมทะเลทรายเริ่มละลายตัวลง
สายลมที่พัดผ่านแอ่งน้ำในบริเวณนี้
จะทำให้ก้อนหินที่อยู่บนแผ่นน้ำแข็งชั้นบาง ๆ ลื่นไถลไปได้
ทำให้เกิดร่องรอยการครูดบนชั้นทรายที่เหลว/นุ่ม
ส่วนก้อนหินบางก้อนก็อาจจะถูกกระแทกให้เคลื่อนที่
โดยแผ่นน้ำแข็งก้อนที่แตกสลายที่ล่องลอยในแอ่งน้ำ
นักวิจัยสังเกตพบว่า
แผ่นผื้นน้ำแข็งเป็นชั้นบาง ๆ
จะหนาเหมือนแผ่นกระจกประมาณ 3-6 มิลลิเมตร
จะก่อตัวขึ้นบนพื้นดินทะเลทรายใน Racetrack Playa
เป็นผลมาจากฝนตกแล้วน้ำท่วมขังในเดือนพฤศจิกายน
แต่ถ้าปีไหนไม่มีฝนตกเลย จะไม่พบเห็นก้อนหินเดินได้
ในตอนกลางคืน/กลางวัน
ในวันที่มีอากาศหนาวเย็นมาก
พื้นที่ชุ่มน้ำจะเริ่มกลายเป็นน้ำแข็ง
แต่พอในเดือนธันวาคม
น้ำแข็งจะเริ่มละลายบางส่วน
และบางส่วนกลายเป็นแอ่งน้ำ
อยู่บนผิวดินท้องทะเลทราย
Credit : http://goo.gl/KlVQhV
ก้อนหินที่อยู่บนก้อนน้ำแข็งส่วนหนึ่ง
จะเริ่มเดินได้ต้องมีความเร็วลมต่อเนื่องอย่างน้อย 10 เมตรต่อนาที
จึงจะทำให้ก้อนหินเคลื่อนที่ได้อย่างช้า ๆ 2-5 เมตรต่อนาที
ก้อนหินบางก้อนเดินไปได้ไกลถึง 200 ฟุต
น้ำหนักหินที่ลื่นไถลกดทับทะเลทรายที่กลายเป็นโคลน
พอดินแห้งแข็งก็จะเห็นร่องรอยทางเดินของก้อนหิน
ปรากฏการณ์นี้จะสิ้นสุดช่วงมกราคม-มีนาคม
ขึ้นอยู่กับน้ำแข็งในพื้นที่แห่งนี้
ไม่กลายเป็นน้ำทั้งหมด
ที่ละลายซึมลงผิวดิน/ระเหยไปบางส่วน
เพราะแสงแดดที่สาดส่อง
และกระแสลมที่พัดผ่าน
ด้วยความเร็วลม 4-5 เมตรต่อวินาที
(เหตุการณ์ก้อนหินเดินได้
ไม่ได้เกิดขึ้นตลอดทั้งปี)
Mystery of Death Valley's 'Sailing Stones' Solved
The Racetrack Playa's Sliding Rocks
How Rocks Move
แต่ที่นักวิทยาศาสตร์ยังหาคำตอบไม่ได้คือ
ทำไมก้อนหินขนาดใหญ่บางก้อน
จึงไม่ร่วมเดินขบวน
ไปด้วยกัน/มาด้วยกัน
ทั้งที่ก้อนหินอยู่บนพื้นแผ่นน้าแข็งชั้นบาง ๆ
และลอยอยู่บนแอ่งน้ำอย่างเห็นได้ชัด
ในช่วงลมพายุพัดผ่านพื้นผิวทะเลทรายแห่งนี้
เรื่องนี้ยังต้องรอค้นหาคำตอบเพิ่มเติม
ทำให้เรื่องก้อนหินเดินได้
บางก้อนยังคงเป็นเรื่องลึกลับ
ใน Racetrack Playa อีกต่อไป
หมายเหตุเพิ่มเติม
อาจเขียนไว้เพื่อขอเงินวิจัยเพิ่มเติมในภายหลัง
หรือไม่อยากทำลายความฝัน/จินตนาการคนอเมริกัน
ก้อนหินบางก้อนเดินไม่ได้
เพราะเหลี่ยมมุมหินฝังลึกในชั้นทราย
ที่กลายเป็นโคลนในหน้าฝน
แล้วถูกสะกัด/กั้นไม่ให้เดิน
ด้วยเศษหิน/วัสดุอื่น
แม้ว่าจะอยู่บนแผ่นน้ำแข็ง
ความลาดชันของพื้นที่
ถ้าดูด้วยสายตาคนเราจะเห็นเป็นที่ราบ
ให้รอตอนน้ำท่วมจะเห็นได้ชัดว่า
ที่ใดน้ำท่วมหนักเป็นที่ลุ่ม
ที่ใดน้ำท่วมไม่ถึงเป็นที่ดอน
คน ห.ใ มีประสบการณ์เรื่องนี้
ไร่สุวรรณวาจก (ปากช่อง)
ถ้าดูจากสายตาตรงด้านหน้าถนนใหญ่
มองตรงไปที่บ้านพักเจ้าหน้าที่ด้านหลัง
จะเห็นเป็นพื้นที่ราบตลอด
แต่หัวหน้าพืชไร่ข้าวโพด
(ท่านมาจากเมืองซัง (ตรัง)
เล่าให้ฟังว่ามีความต่างระดับถึง 4 เมตร
เพราะตอนพัฒนาพื้นที่แห่งนี้
มีการปรับระดับพื้นที่ให้ลาดชันลงมาเรื่อย ๆ
ที่ความเอียง 2 องศาตามคำแนะนำผู้เชี่ยวชาญฝรั่ง
ไร่นี้เดิมเป็นฟาร์มจอมพลสฤษดิ์ ธนรัชต์
ก่อนถูกยึดทรัพย์ให้ตกเป็นของหลวง
เรียบเรียง/ที่มา
http://goo.gl/XO2rlE
http://goo.gl/nXDJkY
http://goo.gl/aAIZVk
ภาพและข้อมูลเพิ่มเติม
View from the ‘source hill’ on the south shore of Racetrack Playa.
View is looking north on December 20, 2013 at 3:15 pm. Steady,
light wind, 4–5 m/s has blown water to the northeast exposing newly formed rock trails.
Lower image shows overlay of lines to emphasize the congruent shape of adjacent rock trails
as well as the proximity of rock trails to rocks that did not move. Image has not been enhanced.
Time lapse images of a moving rock.
Image acquired with a handheld digital camera on January 9, 2014.
Image on the left shows the wide-angle view; interior black frame indicates the view in other frames.
In close-up frames, blue arrows show stationary rocks and red arrow—a rock in motion (moving from left to right).
Total movement lasted ~18 seconds. Dark, flat areas on the pond are panels of ~3 mm thick ice surrounded
by rippled water several centimeters deep. Ice thickness estimated from inshore ice panels.
Broken ice panels accumulated on the upstream side of the moving rock in the last two images.
Images have been cropped but not otherwise edited.
Weather record from Racetrack Playa, Death Valley National Park.
Temperature (red line), 1 hour average wind velocity (black line), insolation (blue line)
and rainfall (filled blue line) for November 20, 2013 to January 9, 2014.
Wind gusts shown in Fig. 9. Red arrows indicate known rock movement events;
there have been additional movement events not recorded by direct observations.
Movement events 1 and 2 are recorded by instrumented rocks,
and direct observations were made for events 2–4.
Time lapse camera observation shows ~20 cm of snow accumulation on November 23.
Total precipitation is likely under-recorded because our weather station
does not record precipitation due to snow. Data reported in Table S1.
GPS-instrumented rock trajectories and velocity.
Top and middle panels are data collected by rocks (A3 and A6) on December 4, 2013;
bottom panels are for a rock movement on December 20, 2013 (Rock A11).
Times are UTC. Note the broadly similar trajectories and velocity histories for rocks on December 4.
Velocity errors are shown in Fig. 7. Data reported in Table S2. Rocks A3 and A6
moved at least once after their GPS instrument batteries were depleted
and had total trail lengths of 157.5 m and 162.4 m, respectively (Table 1).
Error analysis of GPS-instrumented rock movement events.
Note that the uncertainty in rock velocity is generally less than 0.2–0.3 m/minute
in comparison with the recorded 2–6 m/minute velocities
Gusts and average wind velocities.
Comparison of average hourly wind velocity (black, as shown in Fig. 4)
and hourly maximum wind velocity (green)
against the daily temperature record (red line)
and rock movement history (red arrows).
Data reported in Table S1.
Download ฉบับเต็มไฟล์ PDF ได้ที่ http://goo.gl/2Naulo