คือเหมือนจะเข้าใจเเต่ไม่เข้าใจ อาจเพราะชีวิตนี้ยังไม่เคยได้สัมผัส
เเต่พอเห็นรูปร่างของมันบ้าง
เอาตามที่ผมเข้าใจ ร่างแบบคร่าวๆน่ะ
1 ยื่นฟ้อง
2 ศาลพิจารณาให้ได้ความจริง หากได้ความก็สั่งพิทักษ์ทรัพย์ ถ้าไม่ได้ความจริงก็พิจารณายกฟ้อง(ม.14)
3 ลูกหนี้ต้องทำคำชี้เเจง (ม.30)
4 ลูกหน้ต้องยื่นขอประยอมหนี้ก่อนมีการประชุมครั้งแรก (ม,45)
5 ประชุมครั้งแรกเจ้าหนี้ เเละลงมติพิเศษว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับการประนอมหนี้ (ม.31 )
6 กรณีไม่ได้ลงมติตามข้างบนให้ จพง.พิทักทรัพย์ เรียกตาม (ม.45 ว.3)
7 ศาลไต่สวนโดยเปิดเผย (ม.42)
8 มติพิเศษยังไม่ผูกมัดจนกว่าศาลจะเห็นชอบ (ม,46)
9 หากศาลเห็นชอบ ก็ไม่ต้องพิพากษาให้ลูกหนีล้มละลาย(ม,55)
เเต่ถ้าศาลไม่เห็นชอบด้วยกับการประนอมมหนี้
9 ศาลก็จะสั่งให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด เเละพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย(มุ.61)
10 ให้ีผลตั้งเเต่วันพิทักทรัพย์เด็ดขาด (ม.62) = นำทรัพย์ออกขาย เเบ่งเฉลี่ยนเจ้าหนี้
มีขั้นตอนไหนวางผิด หรือลำดับผิดก็วานบอกด้วยน่ะครับ
ช่วยบอกโครงสร้างวิธีดำเนิการของกฎหมายล้มละลายหน่อยครับ
เเต่พอเห็นรูปร่างของมันบ้าง
เอาตามที่ผมเข้าใจ ร่างแบบคร่าวๆน่ะ
1 ยื่นฟ้อง
2 ศาลพิจารณาให้ได้ความจริง หากได้ความก็สั่งพิทักษ์ทรัพย์ ถ้าไม่ได้ความจริงก็พิจารณายกฟ้อง(ม.14)
3 ลูกหนี้ต้องทำคำชี้เเจง (ม.30)
4 ลูกหน้ต้องยื่นขอประยอมหนี้ก่อนมีการประชุมครั้งแรก (ม,45)
5 ประชุมครั้งแรกเจ้าหนี้ เเละลงมติพิเศษว่าจะเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบกับการประนอมหนี้ (ม.31 )
6 กรณีไม่ได้ลงมติตามข้างบนให้ จพง.พิทักทรัพย์ เรียกตาม (ม.45 ว.3)
7 ศาลไต่สวนโดยเปิดเผย (ม.42)
8 มติพิเศษยังไม่ผูกมัดจนกว่าศาลจะเห็นชอบ (ม,46)
9 หากศาลเห็นชอบ ก็ไม่ต้องพิพากษาให้ลูกหนีล้มละลาย(ม,55)
เเต่ถ้าศาลไม่เห็นชอบด้วยกับการประนอมมหนี้
9 ศาลก็จะสั่งให้พิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด เเละพิพากษาให้ลูกหนี้ล้มละลาย(มุ.61)
10 ให้ีผลตั้งเเต่วันพิทักทรัพย์เด็ดขาด (ม.62) = นำทรัพย์ออกขาย เเบ่งเฉลี่ยนเจ้าหนี้
มีขั้นตอนไหนวางผิด หรือลำดับผิดก็วานบอกด้วยน่ะครับ