เมื่อ วันนี้เวลา 15.00น
ผมขับรถมาด้วยความเร็วประมาณ 70 กิโลเมตร ต่อชั่วโมงตามรถเก๋ง อีกคันหนึ่งมา
แล้วรถเก๋งคันด้านหน้า หักเปลื่อนเลนไปด้านขวา กันทันหัน เพราะเจอ กรรมทางกำรังตัดต้นไหมอยู่
ผมก็เบรค กันทันหัน ผมก็ เปิดไฟเลี้ยวด้านขวา ประมาณ 10 วินาที ผมก็ กำรังเปลื่อนเลนไปเลนขวา
ขณะผมกำรังเปลื่อนเลน มีรถกระบะคันหนึ่งขับมาด้วยความเร็วประมาณ 90กิโลเมตร ต่อชั่วโมง รถด้านขวาขับด้านขวามาตลอด ก็ได้ เฉี่ยวด้านข้างผมไป เกิดทำให้ รถเกิดการเสียหายด้านขวา ของรถผม และด้านซ้าย ของรถคู่ กรณี
คำถาม 1 กรรมทางต้องตั้งกรวย แจ้งเตือน ก่อนกี่เมตร กลางวัน
2 ตามกฎหมายไทย รถด้านขวาต้องมีเหตุให้แซง ถึงจะอยู่เลนด้านขวาใช่ไหมครับ
3 รถด้านซ้าย ผิดเสมอ หรือครับ เพราะตามกฎหมาย ให้รถ ทุกคน ที่ไม่ทำการแซง ต้องอยู่เลนด้านซ้าย ใช่หรือไม่ครับ
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
การใช้ทางเดินรถ
6.1 การขับรถ
ผู้ขับขี่จะต้องระมัดระวังไม่ให้รถชน หรือโดนคนเดินเท้า ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดของทาง และต้องให้
สัญญาณเตือน คนเดินเท้าให้รู้ตัวเมื่อจำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็ก คนชรา หรือคนพิการที่กำลังใช้ทาง
ผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวัง เป็นพิเศษในการควบคุมรถของตน
ในการขับรถต้องขับไปทางด้านซ้ายของทางเดินรถ และต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
ให้เดินทางขวา หรือล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถได้
ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจร กำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
ทางเดินรถนั้น กว้างไม่ถึง 6 เมตร
ในการใช้ทางดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถ ในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทาง
ไว้ในช่องเดินรถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุด หรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินรถทางขวาของทางเดินรถได้
ในช่องเดินรถนั้น มีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจร กำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
ทางเดินรถนั้น กว้างไม่ถึง 6 เมตร
ในการใช้ทางดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถ ในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทาง
ไว้ในช่องเดินรถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุด หรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินรถทางขวาของทางเดินรถได้
ในช่องเดินรถนั้น มีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
จะต้องเข้าช่องเดินรถให้ถูกต้อง เมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยก
เมื่อจะแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น
เมื่อขับรถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย
สำหรับรถที่มีความเร็วช้า หรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่าความเร็วของรถคันอื่นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ใกล้ขอบทางเดินรถด้านซ้ายเท่าที่จะกระทำได้
และผู้ขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกโดยสาร รถจักรยานยนต์ ในทางเดินรถซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ ตั้งแต่สองช่องขึ้นไปหรือได้จัดช่องเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ ต้องขับรถในช่องเดินรถด้านซ้ายสุด หรือใกล้เคียงกับช่องเดินรถประจำทางแล้ว แต่กรณี
ยกเว้น รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลที่มีน้ำหนักไม่เกิน 1600 กก. และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
ขอยก พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 ในมาตราที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทางเดินรถ มาซัก 3 มาตรา คือ
มาตรา 33 ในการขับรถ ผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้าย และ ต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินทางขวาหรือ ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถได้
(1) ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร
(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
(3) ทางเดินรถนั้นกว้างไม่ถึงหกเมตร
มาตรา 34 ในการใช้ทางเดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียว กันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทางไว้ในช่องเดิน รถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุดหรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินทางขวาของทางเดินรถได้
(1) ในช่องเดินรถนั้นมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร
(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
(3) จะต้องเข้าช่องทางให้ถูกต้องเมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยก
(4) เมื่อจะแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น
(5) เมื่อผู้ขับขี่ขับรถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย
*หมายเหตุ มาตรา นี้ได้มีการเพิ่มเติมเข้าไปโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ข้อความใหม่เข้าไปโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 4)พ.ศ.2535 ใน มาตรา 6 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109 ตอนที่ 39 หน้า 44 วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2535
มาตรา 35 รถที่มีความเร็วช้าหรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่าความเร็วของ รถคันอื่นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ผู้ขับขี่ต้องขัยรถให้ใกล้ขอบทางเดินรถ ด้านซ้ายเท่าที่จะกระทำได้
ผู้ขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกคนโดยสาร รถจักรยานยนต์ในทางเดินรถ ซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือได้จัดช่อง ทางเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ ต้องขับรถในช่องเดินรถด้าน ซ้ายสุดหรือใกล้เคียงกับช่องเดินรถประจำทางแล้วแต่กรณี
ความในวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ที่มีน้ำหนักไม่ เกินหนึ่งพันหกร้อยกิโลกรัม และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกินเจ็ดคน ตามกฎหมาย ว่าด้วยรถยนต์
*หมายเหตุ มาตรา นี้ความเดิมได้ถูกยกเลิกไป และมีการเพิ่มเติมข้อความ ใหม่เข้าไปโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 ใน มาตรา 3 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 103 ตอนที่ 180 ลงวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2529
***ก็ลองตีความกันดู**
มาตรา 35 ที่ยกมานั้น หากดูให้ดี ก็จะทราบว่า มาตรานี้ เน้นการใช้ช่องทางเดินรถเฉพาะ สำหรับรถบรรทุก รถใหญ่ และ รถจักรยานยนต์ ลงไปว่าให้ใช้ช่องทางซ้ายสุด หรือช่องทางที่จัดไว้เท่านั้น จะกล่าวอีกนัยหนึ่งก็ คือ เน้นการปฏิบัติของรถใหญ่ และรถจักรยานยนต์ ให้เป็นพิเศษกว่ารถประเภทอื่น ส่วนวรรคท้ายที่ว่า ความในวรรคสองมิให้บังคับใช้กับรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ที่มีน้ำหนักไม่เกิน 1,600 กก. และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน นั้น เพราะมาตรา นี้ บังคับใช้กับรถใหญ่และรถจักรยานยนต์ เท่านั้น ส่วนที่คุณสงสัยการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวง ว่าทำถูกต้องหรือไม่ ตอบให้ได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวงจับกุมถูกต้องตามมาตรา 33 , 34 ของ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 ครับ
สอบถาม กฎหมายจราจร เรื่องด้วยการขับเลนขวา เพื่อเป็นความรู้ ขอบคุณครับ
ผมขับรถมาด้วยความเร็วประมาณ 70 กิโลเมตร ต่อชั่วโมงตามรถเก๋ง อีกคันหนึ่งมา
แล้วรถเก๋งคันด้านหน้า หักเปลื่อนเลนไปด้านขวา กันทันหัน เพราะเจอ กรรมทางกำรังตัดต้นไหมอยู่
ผมก็เบรค กันทันหัน ผมก็ เปิดไฟเลี้ยวด้านขวา ประมาณ 10 วินาที ผมก็ กำรังเปลื่อนเลนไปเลนขวา
ขณะผมกำรังเปลื่อนเลน มีรถกระบะคันหนึ่งขับมาด้วยความเร็วประมาณ 90กิโลเมตร ต่อชั่วโมง รถด้านขวาขับด้านขวามาตลอด ก็ได้ เฉี่ยวด้านข้างผมไป เกิดทำให้ รถเกิดการเสียหายด้านขวา ของรถผม และด้านซ้าย ของรถคู่ กรณี
คำถาม 1 กรรมทางต้องตั้งกรวย แจ้งเตือน ก่อนกี่เมตร กลางวัน
2 ตามกฎหมายไทย รถด้านขวาต้องมีเหตุให้แซง ถึงจะอยู่เลนด้านขวาใช่ไหมครับ
3 รถด้านซ้าย ผิดเสมอ หรือครับ เพราะตามกฎหมาย ให้รถ ทุกคน ที่ไม่ทำการแซง ต้องอยู่เลนด้านซ้าย ใช่หรือไม่ครับ
พระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522
การใช้ทางเดินรถ
6.1 การขับรถ
ผู้ขับขี่จะต้องระมัดระวังไม่ให้รถชน หรือโดนคนเดินเท้า ไม่ว่าจะอยู่ในส่วนใดของทาง และต้องให้
สัญญาณเตือน คนเดินเท้าให้รู้ตัวเมื่อจำเป็น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เด็ก คนชรา หรือคนพิการที่กำลังใช้ทาง
ผู้ขับขี่ต้องใช้ความระมัดระวัง เป็นพิเศษในการควบคุมรถของตน
ในการขับรถต้องขับไปทางด้านซ้ายของทางเดินรถ และต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่ในกรณีดังต่อไปนี้
ให้เดินทางขวา หรือล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถได้
ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจร กำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
ทางเดินรถนั้น กว้างไม่ถึง 6 เมตร
ในการใช้ทางดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถ ในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทาง
ไว้ในช่องเดินรถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุด หรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินรถทางขวาของทางเดินรถได้
ในช่องเดินรถนั้น มีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจร กำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
ทางเดินรถนั้น กว้างไม่ถึง 6 เมตร
ในการใช้ทางดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถ ในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่ 2 ช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทาง
ไว้ในช่องเดินรถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุด หรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินรถทางขวาของทางเดินรถได้
ในช่องเดินรถนั้น มีสิ่งกีดขวาง หรือถูกปิดการจราจร
ทางเดินรถนั้น เจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
จะต้องเข้าช่องเดินรถให้ถูกต้อง เมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยก
เมื่อจะแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น
เมื่อขับรถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย
สำหรับรถที่มีความเร็วช้า หรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่าความเร็วของรถคันอื่นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ผู้ขับขี่ต้องขับรถให้ใกล้ขอบทางเดินรถด้านซ้ายเท่าที่จะกระทำได้
และผู้ขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกโดยสาร รถจักรยานยนต์ ในทางเดินรถซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ ตั้งแต่สองช่องขึ้นไปหรือได้จัดช่องเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ ต้องขับรถในช่องเดินรถด้านซ้ายสุด หรือใกล้เคียงกับช่องเดินรถประจำทางแล้ว แต่กรณี
ยกเว้น รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคลที่มีน้ำหนักไม่เกิน 1600 กก. และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกิน 7 คน
ตามกฎหมายว่าด้วยรถยนต์
ขอยก พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 ในมาตราที่เกี่ยวข้องกับการใช้ทางเดินรถ มาซัก 3 มาตรา คือ
มาตรา 33 ในการขับรถ ผู้ขับขี่ต้องขับรถในทางเดินรถด้านซ้าย และ ต้องไม่ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถ เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินทางขวาหรือ ล้ำกึ่งกลางของทางเดินรถได้
(1) ด้านซ้ายของทางเดินรถมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร
(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
(3) ทางเดินรถนั้นกว้างไม่ถึงหกเมตร
มาตรา 34 ในการใช้ทางเดินรถที่ได้จัดแบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียว กันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือที่ได้จัดช่องเดินรถประจำทางไว้ในช่องเดิน รถซ้ายสุด ผู้ขับขี่ต้องขับรถในช่องซ้ายสุดหรือใกล้กับช่องเดินรถประจำทาง เว้นแต่ในกรณีต่อไปนี้ ให้เดินทางขวาของทางเดินรถได้
(1) ในช่องเดินรถนั้นมีสิ่งกีดขวางหรือถูกปิดการจราจร
(2) ทางเดินรถนั้นเจ้าพนักงานจราจรกำหนดให้เป็นทางเดินรถทางเดียว
(3) จะต้องเข้าช่องทางให้ถูกต้องเมื่อเข้าบริเวณใกล้ทางร่วมทางแยก
(4) เมื่อจะแซงขึ้นหน้ารถคันอื่น
(5) เมื่อผู้ขับขี่ขับรถด้วยความเร็วสูงกว่ารถในช่องเดินรถด้านซ้าย
*หมายเหตุ มาตรา นี้ได้มีการเพิ่มเติมเข้าไปโดย พ.ร.บ.แก้ไขเพิ่มเติม ข้อความใหม่เข้าไปโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติจราจรทางบก (ฉบับที่ 4)พ.ศ.2535 ใน มาตรา 6 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 109 ตอนที่ 39 หน้า 44 วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2535
มาตรา 35 รถที่มีความเร็วช้าหรือรถที่มีความเร็วต่ำกว่าความเร็วของ รถคันอื่นที่ขับในทิศทางเดียวกัน ผู้ขับขี่ต้องขัยรถให้ใกล้ขอบทางเดินรถ ด้านซ้ายเท่าที่จะกระทำได้
ผู้ขับขี่รถบรรทุก รถบรรทุกคนโดยสาร รถจักรยานยนต์ในทางเดินรถ ซึ่งได้แบ่งช่องเดินรถในทิศทางเดียวกันไว้ตั้งแต่สองช่องขึ้นไป หรือได้จัดช่อง ทางเดินรถประจำทางด้านซ้ายไว้โดยเฉพาะ ต้องขับรถในช่องเดินรถด้าน ซ้ายสุดหรือใกล้เคียงกับช่องเดินรถประจำทางแล้วแต่กรณี
ความในวรรคสองมิให้ใช้บังคับแก่รถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ที่มีน้ำหนักไม่ เกินหนึ่งพันหกร้อยกิโลกรัม และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลเกินเจ็ดคน ตามกฎหมาย ว่าด้วยรถยนต์
*หมายเหตุ มาตรา นี้ความเดิมได้ถูกยกเลิกไป และมีการเพิ่มเติมข้อความ ใหม่เข้าไปโดย พ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติม พ.ร.บ.จราจรทางบก (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2535 ใน มาตรา 3 ซึ่งได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 103 ตอนที่ 180 ลงวันที่ 13 ตุลาคม พ.ศ.2529
***ก็ลองตีความกันดู**
มาตรา 35 ที่ยกมานั้น หากดูให้ดี ก็จะทราบว่า มาตรานี้ เน้นการใช้ช่องทางเดินรถเฉพาะ สำหรับรถบรรทุก รถใหญ่ และ รถจักรยานยนต์ ลงไปว่าให้ใช้ช่องทางซ้ายสุด หรือช่องทางที่จัดไว้เท่านั้น จะกล่าวอีกนัยหนึ่งก็ คือ เน้นการปฏิบัติของรถใหญ่ และรถจักรยานยนต์ ให้เป็นพิเศษกว่ารถประเภทอื่น ส่วนวรรคท้ายที่ว่า ความในวรรคสองมิให้บังคับใช้กับรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล ที่มีน้ำหนักไม่เกิน 1,600 กก. และรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน นั้น เพราะมาตรา นี้ บังคับใช้กับรถใหญ่และรถจักรยานยนต์ เท่านั้น ส่วนที่คุณสงสัยการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวง ว่าทำถูกต้องหรือไม่ ตอบให้ได้ว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจทางหลวงจับกุมถูกต้องตามมาตรา 33 , 34 ของ พ.ร.บ.จราจรทางบก พ.ศ.2522 ครับ