Thailand Only แบตรถยนต์ถ้าแกะดูมันมีน้ำกรดหมดแหละ เพราะเป็น ตะกั่ว-กรด แต่มีการเรียกกันผิดๆมานาน
แบตน้ำ = แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยง่าย (Conventional) ต้องคอยเติมน้ำกลั่นบ่อยๆ ราคาถูกสุด เหมาะสำหรับรถที่วิ่งบ่อยๆยาวๆ จะต้องให้คนขายใส่น้ำกรดและชาจ์ทแบตก่อน จึงเอาด่วนไม่ได้ บางร้านก็แกะชาจ์ทเตรียมไว้แล้ว
แบตกิ่งแห้งกึ่งเปียก = แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยน้อย (Maintenance Free, MF) อาจต้องตรวจทุก 6 เดือน ราคาระดับกลาง เหมาะสำหรับรถที่วิ่งน้อย self-discharge ต่ำ จึงชาร์ทมาจากโรงงานพร้อมใช้ ดังนั้นน้ำกรดมาตราฐานโรงงาน ควรเลือกก้อนที่ผลิตมาใหม่ๆสดๆ จอดทิ้งไว้ได้นานหน่อย ตามทฤษฎีจะต้องทนทานกว่าแบบ Conventional เพราะใช้แร่ธาตุดีกว่า แต่ประชาชนเขาว่าไม่ทนเท่าชนิดแรก
แบตแห้ง มี 3 อย่าง
1. แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยน้อยมาก 2-3ปี (Sealed Maintenance Free, SMF) ควรตรวจดูบ้าง ราคาแพง (รอท่านผู้รู้มาเสริม)
2. แบตที่ไม่อยากให้ผู้บริโภคเติมน้ำเอง ซีลปิดหมด ใช้พังก็ทิ้งเลย เช่นพวกแบต UPS ใช้จนแห้งเสียทิ้งเลย
3. แบตแห้งแท้จริง ไม่ใช่แบตตะกั่ว-กรด
ถ้าผิดต้องขออภัย ช่วยแก้ไข บอกกล่าวด้วยนะ
จริงๆแล้วแบตตะกั่ว-กรดทุกชนิดคือแบตเปียก(แบตน้ำ) แต่เมืองไทยใช้คำว่า แบตน้ำ แบตกึ่งแห้งกึ่งเปียก แบตแห้ง
แบตน้ำ = แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยง่าย (Conventional) ต้องคอยเติมน้ำกลั่นบ่อยๆ ราคาถูกสุด เหมาะสำหรับรถที่วิ่งบ่อยๆยาวๆ จะต้องให้คนขายใส่น้ำกรดและชาจ์ทแบตก่อน จึงเอาด่วนไม่ได้ บางร้านก็แกะชาจ์ทเตรียมไว้แล้ว
แบตกิ่งแห้งกึ่งเปียก = แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยน้อย (Maintenance Free, MF) อาจต้องตรวจทุก 6 เดือน ราคาระดับกลาง เหมาะสำหรับรถที่วิ่งน้อย self-discharge ต่ำ จึงชาร์ทมาจากโรงงานพร้อมใช้ ดังนั้นน้ำกรดมาตราฐานโรงงาน ควรเลือกก้อนที่ผลิตมาใหม่ๆสดๆ จอดทิ้งไว้ได้นานหน่อย ตามทฤษฎีจะต้องทนทานกว่าแบบ Conventional เพราะใช้แร่ธาตุดีกว่า แต่ประชาชนเขาว่าไม่ทนเท่าชนิดแรก
แบตแห้ง มี 3 อย่าง
1. แบตตะกั่ว-กรด ที่น้ำระเหยน้อยมาก 2-3ปี (Sealed Maintenance Free, SMF) ควรตรวจดูบ้าง ราคาแพง (รอท่านผู้รู้มาเสริม)
2. แบตที่ไม่อยากให้ผู้บริโภคเติมน้ำเอง ซีลปิดหมด ใช้พังก็ทิ้งเลย เช่นพวกแบต UPS ใช้จนแห้งเสียทิ้งเลย
3. แบตแห้งแท้จริง ไม่ใช่แบตตะกั่ว-กรด
ถ้าผิดต้องขออภัย ช่วยแก้ไข บอกกล่าวด้วยนะ