คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 8
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
ถ้า น้อง อยาก เป็น ครู อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะครุศาสตร์
ถ้าจบ สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ถ้า อยาก เป็น ครู อาจารย์ ต้องไปเรียน มาตรฐานวิชาชีพ ครู อาจารย์ เพิ่ม
ที่ น้อง บอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่ คณะ นะ เป็น สาขา ภาควิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ computer science
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ computer engineer
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็นอย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไร แล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียน
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน
ต้องเก่ง และมีความสามารถจริง
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มี เรียน เขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย เขียนโปรแกรม ต้อง เก่ง คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ E ด้วย ถึง จะดี อ่านให้เข้าใจ ปิด หนังสือ ลอง ตั้งโจทย์ขึ้นมา เขียนตามความเข้าใจของเรา อย่า เขียนตามหนังสือ เพราะ หนังสือ ก็มี ข้อผิดพลาด ถ้า เขียน ตาม หนังสือ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็เขียนโปรแกรม เป็น ได้
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์ หลักสูตร วิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชา ให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System And Design Analysis SA จะต่างกัน ตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน
ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา
ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป
วิศวกรรมศาสตร์ ทุกสาขา ภาควิชา ต้องได้เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ ต้องได้
เจาะลึก "วิทยาการคอมพิวเตอร์" http://www.youtube.com/watch?v=Z9SdHDdJcUU
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน Algorithm, Data Structure และ Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ Object โดยใช้ภาษา Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ Database ได้ สามารถเขียน
โปรแกรม Web based ได้ สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา UML ได้ มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี คือ
. ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา UML
. สามารถใช้ CASE Tool ได้
. สามารถเขียนภาษา Java ในระดับ J2EE ได้
. สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง Web Service ได้
. สามารถออกแบบ Database Application ที่เป็น Web based ได้ โดยใช้ Oracle database หรือ Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
. Software Developer
. Programmer
. Software Test Engineer
. Network Engineer
. Programmer
. System Administrator
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไปได้ หลากหลายอาชีพ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน วิศว ก็ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน วิศว
ถ้า น้อง อยาก เป็น ครู อาจารย์ คณะศึกษาศาสตร์ คณะครุศาสตร์
ถ้าจบ สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ถ้า อยาก เป็น ครู อาจารย์ ต้องไปเรียน มาตรฐานวิชาชีพ ครู อาจารย์ เพิ่ม
ที่ น้อง บอก วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่ คณะ นะ เป็น สาขา ภาควิชา
วิทยาการคอมพิวเตอร์ computer science
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ computer engineer
น้อง ต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็นอย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไร แล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบแล้วจะมีความสุขในการเรียน
ไม่เลือกงาน ไม่ตกงาน
ต้องเก่ง และมีความสามารถจริง
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนา เกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มี เรียน เขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ อ่านอย่างเดียวไม่ได้ ต้องปฏิบัติด้วย เขียนโปรแกรม ต้อง เก่ง คณิตศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ E ด้วย ถึง จะดี อ่านให้เข้าใจ ปิด หนังสือ ลอง ตั้งโจทย์ขึ้นมา เขียนตามความเข้าใจของเรา อย่า เขียนตามหนังสือ เพราะ หนังสือ ก็มี ข้อผิดพลาด ถ้า เขียน ตาม หนังสือ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็เขียนโปรแกรม เป็น ได้
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
คอมพิวเตอร์ หลักสูตร วิทยาศาสตร จะมีหลายสาขา ภาควิชา ให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System And Design Analysis SA จะต่างกัน ตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน
ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร จะเน้น ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์ การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา
ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป
วิศวกรรมศาสตร์ ทุกสาขา ภาควิชา ต้องได้เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ ต้องได้
เจาะลึก "วิทยาการคอมพิวเตอร์" http://www.youtube.com/watch?v=Z9SdHDdJcUU
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน Algorithm, Data Structure และ Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ Object โดยใช้ภาษา Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ Database ได้ สามารถเขียน
โปรแกรม Web based ได้ สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา UML ได้ มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี คือ
. ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา UML
. สามารถใช้ CASE Tool ได้
. สามารถเขียนภาษา Java ในระดับ J2EE ได้
. สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง Web Service ได้
. สามารถออกแบบ Database Application ที่เป็น Web based ได้ โดยใช้ Oracle database หรือ Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
. Software Developer
. Programmer
. Software Test Engineer
. Network Engineer
. Programmer
. System Administrator
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ไปได้ หลากหลายอาชีพ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน วิศว ก็ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่ทำงาน ด้าน คอมพิวเตอร์ ก็ทำงาน ด้าน วิศว
แสดงความคิดเห็น
วิทยาการ-คอม กับ วิศวะคอม งานไม่มั่นคงจริงหรอครับ ?
ตอนนี้ผมอยู่ ม.5 แล้วครับ
เรียนสายวิทย์
ผมเป็นคนที่ชอบคอมพิวเตอร์มากๆ ผมเลยอยากคิดไว้ก่อนว่า ถ้าเรียนจบ ม.6 จะไปต่อ คณะไหนดี
ในใจตอนนี้ ผมก็มี
*วิทยาการคอมพิวเตอร์ (Sci-com)
กับ
*วิศวะคอมพิวเตอร์
ครับ พอผมลองค้นข้อมูลเกี่ยวกับทั้ง 2 คณะนี้แล้ว
หลายกระทู้บอกว่า คณะพวกนี้ มีโอกาสตกงานสูงบ้าง มีคนรับน้อยบ้างอะไรบ้าง !!
ผมเลยอยากรู้ข้อมูล จากผู้รู้หน่อยครับ
ว่า!!
***งานไม่ค่อยมั่นคงจริงหรอ?
***จบไปแล้วทำงานเป็นอะไร ?
***เรียนจบแล้วสามารถไปต่อครูได้ไหมครับ และถ้าต่อได้มันคุ้มค่าไหม ?
หลักๆก็มีแค่นี้ครับผม
**พวกวิชาคำนวณ ผมไม่ค่อยมีปัญหาครับ ค่อนข้างชอบ (ต่อผมชอบคอมพิวเตอร์ที่สุดครับ )
วิชาที่ไม่ค่อยชอบสำหรับผมก็พวกรายวิชา สังคมทั้งหมดครับ
(ป.ล.ถ้าตั้งกระทู้ผิดหมวดหรืออย่างไรก็ขอประทานโทษมา ณ ที่นี้ด้วยนะครับ )