จาก timeline ของประวัติศาสตร์ในช่วงประมาณ 320-330 ปีก่อนคริสต์กาล ซึ่งเป็นช่วงที่อเล็กซานเดอร์มหาราชบุกตะลุยไปถึงอินเดีย หากว่าในตอนนั้นพระงอค์เปลี่ยนแผนไปทางตะวันออกก็จะพบกับจีนในยุคปลายของราชวงศ์โจวตะวันออก ในยุคหลี่ซือชุนชิว ซึ่งจีนกำลังแบ่งแยกแตกเป็นแคว้นต่างๆ ถ้าตัดปัญหาในเรื่องเส้นทางที่ต้องข้ามทะเลทรายทาคามันคลันหรือเทือกเขาหิมาลัย ซึ่งตามความเป็นจริงกองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชไม่น่าผ่านปราการธรรมชาตินี้ไปได้
แต่หากสมมุติว่ากองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารผ่านอุปสรรคทางธรรมชาติทั้งสองอย่างนี้ไปได้โดยไม่สูญเสียกำลังพล หรือสูญเสียน้อยมาก มีความเป็นไปได้ไหมครับว่าผู้ที่รวมแผ่นดินจีนเป็นผู้แรกจะไม่ใช่จิ๋นซีฮ่องเต้ แต่เป็นอเล็กซานเดอร์มหาราช
ถ้ากองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชไม่ได้ลงใต้เข้าอินเดีย แค่ไปทางตะวันออกเปิดศึกกับจีน
แต่หากสมมุติว่ากองทัพของอเล็กซานเดอร์มหาราชสามารผ่านอุปสรรคทางธรรมชาติทั้งสองอย่างนี้ไปได้โดยไม่สูญเสียกำลังพล หรือสูญเสียน้อยมาก มีความเป็นไปได้ไหมครับว่าผู้ที่รวมแผ่นดินจีนเป็นผู้แรกจะไม่ใช่จิ๋นซีฮ่องเต้ แต่เป็นอเล็กซานเดอร์มหาราช