จากสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้ทำทางรถไฟสายมรณะ มีการจับเชลยมาสร้างรางรถไฟ
ตรงไหนเป็นเขา ก็ใช้แรงงานขุดเจาะ ด้วยมือ กลายเป็นช่องเขาขาด
หลังจากรัฐบาลออสเตรเลียเห็นความสำคัญ จึงได้ร่วมมือจัดตั้งเป็นมิวเซียม ดิฉันเคยไปมาได้ความรู้และหลายๆ อย่าง
เด็กญี่ปุ่นปัจจุบัน ก็แทบไม่รับรู้เรื่องนี้ จากการศึกษาภาคบังคับที่นำไปไว้ท้ายๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เอเชีย
แถมเรื่องสะพานสายมรณะนี้ก็เรียกได้ว่าไม่มีการเรียนการสอนเลย
(ที่จริงๆ ชื่นชอบอะไรหลายๆ อย่างของญี่ปุ่นนะคะ แต่เรื่องเกี่ยวกับสงครามโลก ญี่ปุ่นดูไม่ค่อยอะไรกับสิ่งที่ทำลงไปเลย)
มาทราบว่า ทาเคชิ นากาเซ่ นายทหารคนหนึ่งที่เคยมาประจำการที่ไทย มองเห็นความทุกทรมานแล้วเกลียดกองทัพตัวเองไปเลย
ต้องมาเคารพวิญญาณของเชลยทุกปี ที่กาญจนบุรี เขาเคยพยายามให้ญี่ปุ่นแสดงท่าทีต่อสิ่งที่ทำลงไปแล้ว รัฐบาลก็ไม่เอาด้วย
จึงมึความหวังสุดท้ายคือการขึ้นทะเบียนสถานที่แห่งนี้ เป้นมรดกโลก เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานของสงคราม
ในมุมมองของเพื่อนๆ คิดว่าเป็นไปได้มั้ยคะ เราไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเกณฑ์การพิจารณามรดกโลกอะไรแบบนี้ เลยอยากลองถามดูค่ะ
ส่วนตัวแอบเห็นด้วย
พอจะมีความเป็นไปได้มั้ยคะ ที่จะขึ้นทะเบียน ทางรถไฟสายมรณะ เป็นมรดกโลก
ตรงไหนเป็นเขา ก็ใช้แรงงานขุดเจาะ ด้วยมือ กลายเป็นช่องเขาขาด
หลังจากรัฐบาลออสเตรเลียเห็นความสำคัญ จึงได้ร่วมมือจัดตั้งเป็นมิวเซียม ดิฉันเคยไปมาได้ความรู้และหลายๆ อย่าง
เด็กญี่ปุ่นปัจจุบัน ก็แทบไม่รับรู้เรื่องนี้ จากการศึกษาภาคบังคับที่นำไปไว้ท้ายๆ เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เอเชีย
แถมเรื่องสะพานสายมรณะนี้ก็เรียกได้ว่าไม่มีการเรียนการสอนเลย
(ที่จริงๆ ชื่นชอบอะไรหลายๆ อย่างของญี่ปุ่นนะคะ แต่เรื่องเกี่ยวกับสงครามโลก ญี่ปุ่นดูไม่ค่อยอะไรกับสิ่งที่ทำลงไปเลย)
มาทราบว่า ทาเคชิ นากาเซ่ นายทหารคนหนึ่งที่เคยมาประจำการที่ไทย มองเห็นความทุกทรมานแล้วเกลียดกองทัพตัวเองไปเลย
ต้องมาเคารพวิญญาณของเชลยทุกปี ที่กาญจนบุรี เขาเคยพยายามให้ญี่ปุ่นแสดงท่าทีต่อสิ่งที่ทำลงไปแล้ว รัฐบาลก็ไม่เอาด้วย
จึงมึความหวังสุดท้ายคือการขึ้นทะเบียนสถานที่แห่งนี้ เป้นมรดกโลก เพื่อเป็นอนุสรณ์สถานของสงคราม
ในมุมมองของเพื่อนๆ คิดว่าเป็นไปได้มั้ยคะ เราไม่ค่อยมีความรู้เรื่องเกณฑ์การพิจารณามรดกโลกอะไรแบบนี้ เลยอยากลองถามดูค่ะ
ส่วนตัวแอบเห็นด้วย