คือตามทฤษฏีของไอสไตน์ที่ใช้ได้ดีในสเกลใหญ่ที่ว่าสนามอวกาศมันโค้งเหมือนแผ่นยางที่มีลูกบอลตกลงไป(จะไม่ถามนะว่าอะไรดึงมันลงไป = =)
คือว่าตัวสนามมันบิดหนีออกจากมวลไป ประมาณว่าสมมุติมีทรงกลมสนามมันก็บิดรอบทรงกลมนั่น ที่ว่าทำไห้แสงมันโค้งไปนั่นหละครับ
แปลว่าเจ้าอะไรก้ตามที่อยู่ข้างในมวลนั่นมันก็ไม่ได้รับผลจากสนามที่ว่าใช่หรือเปล่าครับ มันเป็นเหตุผลหรือเปล่าที่สนามนี้ไม่ลงรอยกับสเกลเล็กๆระดับอนุภาคมูลฐาน เพราะสนามมันไม่ได้คุมถึงข้างในมวล ในระดับอะตอม
มันเหมือนกับชุดสมการที่อธิบายสนามนี่อธิบายในจุดนี้ไม่ได้เพราะมันไม่มีความต่อเนื่องของกาลอวกาศในระดับนั้น
แล้วถ้าเป็นแบบนั้นจริงการจะอธิบายทั้งสองสเกลพร้อมกันก็ต้องใช้คณิตศาสตร์ที่อธิบายสิ่งที่ไม่ต่อเนื่องได้ ถ้าพัฒนาตัวคณิตนั่นขึ้นมาได้มีโอกาสที่สมการเดียวจะอธิบายกาลอวกาศได้ในทุกระดับไหมครับ (เคยอ่านเจอว่ามันทำไม่ได้เพราะเปรียบกับการมองเหรีญ มันมองครั้งเดียวก็เห็นได้แค่มุมเดียว ต้องหลายๆด้านย่อยๆถึงจะอธิบายในภาพรวมได้....หลักการซ้อนทับอะไรซักอย่างที่ส่วนใหญ่คือผลรวมของส่วนย่อยหนะครับ)
ความไม่ลงรอย [Physics]
คือว่าตัวสนามมันบิดหนีออกจากมวลไป ประมาณว่าสมมุติมีทรงกลมสนามมันก็บิดรอบทรงกลมนั่น ที่ว่าทำไห้แสงมันโค้งไปนั่นหละครับ
แปลว่าเจ้าอะไรก้ตามที่อยู่ข้างในมวลนั่นมันก็ไม่ได้รับผลจากสนามที่ว่าใช่หรือเปล่าครับ มันเป็นเหตุผลหรือเปล่าที่สนามนี้ไม่ลงรอยกับสเกลเล็กๆระดับอนุภาคมูลฐาน เพราะสนามมันไม่ได้คุมถึงข้างในมวล ในระดับอะตอม
มันเหมือนกับชุดสมการที่อธิบายสนามนี่อธิบายในจุดนี้ไม่ได้เพราะมันไม่มีความต่อเนื่องของกาลอวกาศในระดับนั้น
แล้วถ้าเป็นแบบนั้นจริงการจะอธิบายทั้งสองสเกลพร้อมกันก็ต้องใช้คณิตศาสตร์ที่อธิบายสิ่งที่ไม่ต่อเนื่องได้ ถ้าพัฒนาตัวคณิตนั่นขึ้นมาได้มีโอกาสที่สมการเดียวจะอธิบายกาลอวกาศได้ในทุกระดับไหมครับ (เคยอ่านเจอว่ามันทำไม่ได้เพราะเปรียบกับการมองเหรีญ มันมองครั้งเดียวก็เห็นได้แค่มุมเดียว ต้องหลายๆด้านย่อยๆถึงจะอธิบายในภาพรวมได้....หลักการซ้อนทับอะไรซักอย่างที่ส่วนใหญ่คือผลรวมของส่วนย่อยหนะครับ)