คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 12
คอมพิวเตอร์ ทุก สาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรม ไม่พ้น
ไม่เก่ง คุณ ก็ต้องขยันเพิ่ม ไม่มีใครเก่ง ตั้งแต่ เกิด ใน เมื่อ คุณ เลือก ที่ จะเรียน สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แล้ว ต้อง เรียนให้จบ วิชา สาขา ภาควิชา ไม่ควรได้ต่ำกว่า เกรด 2 หรือ C ถ้าต่ำกว่า ควรมี 2-3 วิชา เกรด 1+ หรือ D+
ด้าน เครือข่าย Network ก็ มีเรียน เขียนโปรแกรม ใคร ว่า ด้าน เครือข่าย Network ไม่มี เรียน เขียนโปรแกรม เข้าใจ ผิด หนังสือ เขียนโปรแกรมเครือข่าย Network ยังมี เลย
ตอนแรกที่อยากเรียนคืออยากเป็นคนก้าวทันโลกครับ คิดว่าทุกอย่างในอนาคตต้องเกี่ยวกับเทคโนโลยี
บาง คน อาจจะ คิด ว่า ตัว เอง เรียน ไหว แต่ พอ เรียน จริง ๆ ไม่ไหว
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร บัณฑิต เจาะลึก เยอะ ที่ สุด ทั้ง ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
วิศวกรรมศาสตร์ ทุก สาขา ภาควิชา ต้องได้เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ ต้องได้
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
ทุก วิทยาลัย มหาวิทยาลัย มี ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา ทุกปี เพราะ เรียน ตาม พ่อ แม่ แฟน เป็น ต้น และคิดว่า ตัว เอง เรียน ไหว
ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา ก็ เสีย เวลา เรียน คนอื่น ใกล้จบ แล้ว แต่ เรา เรียนอยู่ ไม่มีใคร แก่ เกิน เรียน ก็จริง แต่ ควร จะตั้งใจให้จบ ตาม หลักสูร เช่น หลักสูตร 4 ปี หลักสูตร 3ปีต่อเนื่อง หรือ เทียบโอน เป็นต้น
ไม่เก่ง คุณ ก็ต้องขยันเพิ่ม ไม่มีใครเก่ง ตั้งแต่ เกิด ใน เมื่อ คุณ เลือก ที่ จะเรียน สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ แล้ว ต้อง เรียนให้จบ วิชา สาขา ภาควิชา ไม่ควรได้ต่ำกว่า เกรด 2 หรือ C ถ้าต่ำกว่า ควรมี 2-3 วิชา เกรด 1+ หรือ D+
ด้าน เครือข่าย Network ก็ มีเรียน เขียนโปรแกรม ใคร ว่า ด้าน เครือข่าย Network ไม่มี เรียน เขียนโปรแกรม เข้าใจ ผิด หนังสือ เขียนโปรแกรมเครือข่าย Network ยังมี เลย
ตอนแรกที่อยากเรียนคืออยากเป็นคนก้าวทันโลกครับ คิดว่าทุกอย่างในอนาคตต้องเกี่ยวกับเทคโนโลยี
บาง คน อาจจะ คิด ว่า ตัว เอง เรียน ไหว แต่ พอ เรียน จริง ๆ ไม่ไหว
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร บัณฑิต เจาะลึก เยอะ ที่ สุด ทั้ง ซอฟต์แวร์ และ ฮาร์ดแวร์
เจาะลึกวิศวะคอมพิวเตอร์ http://www.youtube.com/watch?v=3-Jf7SUahzo
อยากเรียนวิศวะคอมฯ ต้องดู ! http://www.youtube.com/watch?v=27UyuFFOP10
ถามวิศวะ : วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จุฬาฯ http://www.youtube.com/watch?v=PEpzr0fKyJs
วิศวกรรมศาสตร์ ทุก สาขา ภาควิชา ต้องได้เรียน ฟิสิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ คำนวณ ต้องได้
สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วิศวกรรมคอมพิวเตอร์เป็นสาขาที่เหมาะกับคนที่สนใจทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ผู้ที่มีพื้นฐานด้านไฟฟ้า อิเลคทรอนิกส์ วิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ จะสามารถเรียนใน
สาขานี้ได้ดี การเรียนจะมุ่งเน้นทักษะการออกแบบระบบดิจิทัล ระบบควบคุมที่ใช้ซอฟต์แวร์ระดับแก่นโดยใช้ภาษา C และ Visual C++ ตลอดจนภาษา Java บางครั้งก็ต้อง
ใช้ภาษา Assembly นักศึกษาจะสามารถออกแบบระบบ Digital ได้ ซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอฟตแวร์ที่สร้างพิเศษสำหรับงานนั้น
ทักษะหลักที่จะได้รับการศึกษา
. ออกแบบระบบควบคุมด้วยดิจิตอล และซอฟตแวร์ควบคุม
. ออกแบบซอฟต์แวร์ควบคุมโดยภาษา C
. ออกแบบระบบเว็บบอร์ด โดยใช้ภาษา HTML
. ออกแบบระบบคอมพิวเตอร์ระดับ VLSI
อาชีพหลักที่นักศึกษาทำได้มีดังนี้
. การบริการระบบ Internet
. วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
. วิศวกรควบคุม
. Software Developer
. System Engineer
. Multimedia System Engineer
ศึกษาพื้นฐานทั้งในด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบคอมพิวเตอร์ การออกแบบ สร้าง ทดสอบทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของระบบสมองกลฝังตัว (Embeded System) การออกแบบเพื่อประยุกต์ใช้งานด้าน VLSI(Very Large Scale Integrated Circuit) การออกแบบ ติดตั้งและควบคุมระบบเครือข่าย รวมทั้งการเขียนโปรแกรมที่ใช้ประยุกต์ใช้กับการบริหารจัดการข้อมูลของระบบสารสนเทศในรูปแบบต่าง ๆ กัน
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
ทุก วิทยาลัย มหาวิทยาลัย มี ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา ทุกปี เพราะ เรียน ตาม พ่อ แม่ แฟน เป็น ต้น และคิดว่า ตัว เอง เรียน ไหว
ย้าย คณะ สาขา ภาควิชา ก็ เสีย เวลา เรียน คนอื่น ใกล้จบ แล้ว แต่ เรา เรียนอยู่ ไม่มีใคร แก่ เกิน เรียน ก็จริง แต่ ควร จะตั้งใจให้จบ ตาม หลักสูร เช่น หลักสูตร 4 ปี หลักสูตร 3ปีต่อเนื่อง หรือ เทียบโอน เป็นต้น
แสดงความคิดเห็น
เรียนวิศวคอมพิวเตอร์จำเป็นหรือไม่ที่ต้องเขียนโค้ดเก่ง
อยากทราบว่าการเรียนวิศวคอม จำเป็นหรือไม่ที่ต้องเขียนโค้ดเก่งครับ
หนึ่งคือโดยส่วนตัวไม่ชอบเขียนโค้ดเลย เพราะเป็นการดูดพลังชีวิตไปอย่างมาก
อีกทั้งเป็นคนที่เข้าใจยาก หัวไม่ค่อยไปกับการเรียนด้านนี้เท่าไร
เลยอยากถามว่าสาขาการเรียนต่อ หรือการทำงานหลังจากจบแล้ว
มีสายงานไหนบ้างครับที่ไม่ต้องยุ่งเกี่ยวกับโค้ดเลย หรือมีเล็กน้อยก็พอครับ