สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 3
จรวดนำวิถีด้วยเส้นลวด มีหลักการทำงานโดยบังคับตัวจรวดผ่านเส้นลวด หรือ Fiber optic
โดยเมื่อปล่อยจรวดออกไปแล้ว ฐานยิงจะต้องบังคับให้กล้องเล็ง ให้เส้นเล็ง (FOV) ทาบทับบนเป้าหมายตลอดเวลา
ไม่ว่าเป้าหมายนั้นจะเคลื่อนที่อย่างไร ระบบยิงจะสั่งงานให้ชุดขับเคลื่อนของจรวดรักษาทิศทางสู่เป้าหมายเอง
ระบบนี้ออกแบบง่าย รบกวนทาง Electronic ได้ยาก หรืออาจจะไม่ได้เลย แต่ก็มีข้อเสียก็คือ ถ้าพลยิงเสียสมาธิจรวดก็พลาดเป้าได้
ระยะยิงของระบบนี้ก็ขึ้นอยู่กับตัวเส้นลวด หรือ Fiber ว่ามีความยาวเท่าไหร่ ส่วนมากประมาณ 3 กิโลเมตรครับ
ภาพของ Wire guided Missile
การทำงานของจรวดประเภทนี้ จะทำงานร่วมกับระบบ RADAR แบบ TWS (Track While Scan)
และ Monopulse RADAR (หรือ CW (Continuous-wave) RADAR)
RADAR แบบ TWS นี้ จะกวาดหาเป้าหมายและ tracking ไปด้วยในขณะเดียวกัน และเมื่อค้นพบเป้าหมายแล้ว
ก็จะส่งต่อให้ MonoPulse RADAR ทำการ lock เป้าหมาย
ภาพฐานปล่อยจรวดพร้อม Control RADAR
ที่หัวจรวดจะมี tracking RADAR และทำงานเหมือนกับ MonoPulse เช่นกัน
โดยจะเป็น RADAR สุดท้ายที่ทำงานส่งหัวจรวดเข้าสู่เป้าหมายครับ
ภาพ MonoPulse RADAR ที่หัวจรวด SAM (ที่จุด A นั้นคือเสาอากาศของ RADAR)
ข้อดี - ข้อด้อยของ ระบบ RADAR Guidance Missile
ข้อดี
1. ในขั้นสุดท้ายของการยิง จรวดจะอยู่ใกล้กับเป้ามาก ทำให้เกิดความแม่นยำ และยากต่อการต่อต้านทาง Electronic
มีโอกาสทำลายเป้าหลายได้สูงมาก
2. จรวดจะทำงานทุกอย่างด้วยตัวเอง ทำให้ผู้ยิงสามารถไปเตรียมการปฏิบัติอื่น ๆ ได้ทันที เรียกกันว่า “fire-and-forget”
ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในอาวุธอากาศสู่อากาศในยุคใหม่
ข้อด้อย
1. เนื่องจากจรวดต้องบรรจุระบบ RADAR ทั้งหมด ทำให้มีความยากลำบากในการติดตั้ง และทำให้เพิ่มขนาดและน้ำหนักของจรวด
มีค่าใช้จ่ายในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น
2. ในระบบนี้ จรวดสามารถถูกตรวจจับและแจ้งเตือนได้โดยอุปกรณ์ RADAR Warning ของเป้าหมาย
ทำให้สามารถหลบหลีก ลวง และต่อต้านทาง Electronic ต่อจรวดได้
ระบบนี้ จะติดตามเป้าหมายจากคลื่น Infrared ที่แผ่ออกมาจากแหล่งความร้อนของเป้าหมาย
โดย IR นั้นจะถูกรับสัญญาณโดยอุปกรณ์ sensor ที่เรียกว่า Retical หรือ Chopper ทำหน้าที่ในการหาทิศทางของแหล่งกำเนิด IR
และนำสัญญาณนั้นไป control การเคลื่อนที่ของจรวดต่อไป
ระบบนี้ หลักการทำงานคือจะต้องมีอุปกรณ์ชี้เป้าหมายที่ยิงแสง LASER ไปยังเป้าหมาย เช่น อุปกรณ์ชี้เป้าของทหารราบ
หรือ LASER tracking ของเครื่องบิน .... เมื่อทำการปล่อยอาวุธจะวิ่งเข้าหาเป้าหมายตามลำแสง LASER
โดยที่ตัวรับของจรวดนั้นจะมีการจับทั้ง pattern และ frequency ของ LASER และจรวดจะ control ทิศทางเองตลอดทางสู่เป้าหมายครับ
ระบบนี้ จะมีข้อจำกัดเกี่ยวกับสภาพอากาศคือถ้ามีเมฆหนา หมอกลงจัด หรือ มีพายุทราย การค้นหาและชี้เป้าจะทำได้ยาก
จรวดนำวิถีด้วยเส้นลวด มีหลักการทำงานโดยบังคับตัวจรวดผ่านเส้นลวด หรือ Fiber optic
โดยเมื่อปล่อยจรวดออกไปแล้ว ฐานยิงจะต้องบังคับให้กล้องเล็ง ให้เส้นเล็ง (FOV) ทาบทับบนเป้าหมายตลอดเวลา
ไม่ว่าเป้าหมายนั้นจะเคลื่อนที่อย่างไร ระบบยิงจะสั่งงานให้ชุดขับเคลื่อนของจรวดรักษาทิศทางสู่เป้าหมายเอง
ระบบนี้ออกแบบง่าย รบกวนทาง Electronic ได้ยาก หรืออาจจะไม่ได้เลย แต่ก็มีข้อเสียก็คือ ถ้าพลยิงเสียสมาธิจรวดก็พลาดเป้าได้
ระยะยิงของระบบนี้ก็ขึ้นอยู่กับตัวเส้นลวด หรือ Fiber ว่ามีความยาวเท่าไหร่ ส่วนมากประมาณ 3 กิโลเมตรครับ
ภาพของ Wire guided Missile
การทำงานของจรวดประเภทนี้ จะทำงานร่วมกับระบบ RADAR แบบ TWS (Track While Scan)
และ Monopulse RADAR (หรือ CW (Continuous-wave) RADAR)
RADAR แบบ TWS นี้ จะกวาดหาเป้าหมายและ tracking ไปด้วยในขณะเดียวกัน และเมื่อค้นพบเป้าหมายแล้ว
ก็จะส่งต่อให้ MonoPulse RADAR ทำการ lock เป้าหมาย
ภาพฐานปล่อยจรวดพร้อม Control RADAR
ที่หัวจรวดจะมี tracking RADAR และทำงานเหมือนกับ MonoPulse เช่นกัน
โดยจะเป็น RADAR สุดท้ายที่ทำงานส่งหัวจรวดเข้าสู่เป้าหมายครับ
ภาพ MonoPulse RADAR ที่หัวจรวด SAM (ที่จุด A นั้นคือเสาอากาศของ RADAR)
ข้อดี - ข้อด้อยของ ระบบ RADAR Guidance Missile
ข้อดี
1. ในขั้นสุดท้ายของการยิง จรวดจะอยู่ใกล้กับเป้ามาก ทำให้เกิดความแม่นยำ และยากต่อการต่อต้านทาง Electronic
มีโอกาสทำลายเป้าหลายได้สูงมาก
2. จรวดจะทำงานทุกอย่างด้วยตัวเอง ทำให้ผู้ยิงสามารถไปเตรียมการปฏิบัติอื่น ๆ ได้ทันที เรียกกันว่า “fire-and-forget”
ซึ่งเป็นข้อได้เปรียบในอาวุธอากาศสู่อากาศในยุคใหม่
ข้อด้อย
1. เนื่องจากจรวดต้องบรรจุระบบ RADAR ทั้งหมด ทำให้มีความยากลำบากในการติดตั้ง และทำให้เพิ่มขนาดและน้ำหนักของจรวด
มีค่าใช้จ่ายในการผลิตเพิ่มสูงขึ้น
2. ในระบบนี้ จรวดสามารถถูกตรวจจับและแจ้งเตือนได้โดยอุปกรณ์ RADAR Warning ของเป้าหมาย
ทำให้สามารถหลบหลีก ลวง และต่อต้านทาง Electronic ต่อจรวดได้
ระบบนี้ จะติดตามเป้าหมายจากคลื่น Infrared ที่แผ่ออกมาจากแหล่งความร้อนของเป้าหมาย
โดย IR นั้นจะถูกรับสัญญาณโดยอุปกรณ์ sensor ที่เรียกว่า Retical หรือ Chopper ทำหน้าที่ในการหาทิศทางของแหล่งกำเนิด IR
และนำสัญญาณนั้นไป control การเคลื่อนที่ของจรวดต่อไป
ระบบนี้ หลักการทำงานคือจะต้องมีอุปกรณ์ชี้เป้าหมายที่ยิงแสง LASER ไปยังเป้าหมาย เช่น อุปกรณ์ชี้เป้าของทหารราบ
หรือ LASER tracking ของเครื่องบิน .... เมื่อทำการปล่อยอาวุธจะวิ่งเข้าหาเป้าหมายตามลำแสง LASER
โดยที่ตัวรับของจรวดนั้นจะมีการจับทั้ง pattern และ frequency ของ LASER และจรวดจะ control ทิศทางเองตลอดทางสู่เป้าหมายครับ
ระบบนี้ จะมีข้อจำกัดเกี่ยวกับสภาพอากาศคือถ้ามีเมฆหนา หมอกลงจัด หรือ มีพายุทราย การค้นหาและชี้เป้าจะทำได้ยาก
แสดงความคิดเห็น
ขอถามเกี่ยวกับระบบการนำวิถีของจรวดหน่อยครับ ><"