สรยุทธ์เล่าข่าวจาก AP ครับ
เพื่อไม่ให้เกิดการคลาดเคลื่อนในเนื้อหา
ผมซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา "ยูเครน"
ได้ถอดความแบบ 3 ชั้น จากยูเครน เป็นอังกฤษ และ จากอังกฤษมาเป็นภาษาไทยครับ
ลิ้งค์ข่าว :
http://www.themonitor.com/news/apnews/us-confident-thai-military-won-t-resort-to-coup/article_b55d3418-51e4-53e0-9678-c61c4ced7983.html?mode=jqm
เนื้อข่าว :
WASHINGTON (AP) — The U.S. is "reasonably confident" Thailand's military won't launch a coup, a senior defense official said Tuesday, although analysts warned the nation's political crisis could trigger armed conflict.
More than 20 people have died and hundreds have been injured in political violence since November, the latest episode in eight years of upheaval that has pitted the largely rural supporters of populist former Prime Minister Thaksin Shinawatra against the Southeast Asian nation's traditional elites.
The standoff entered a new and potentially dangerous phase last week when the Thai constitutional court removed Thaksin's sister Yingluck as prime minister. That's stimulated debate in Washington about how it might help calm the tensions roiling Thailand, a longstanding U.S. ally and military partner.
U.S. officials told a conference at the Center for Strategic and International Studies that they were closely monitoring the situation but had no intention of intervening.
"Like most internal political impasses and divisions, it's not something that foreigners can come in and magically fix. It has to be a Thai solution," said the senior diplomat for Southeast Asia, Scot Marciel. He said Washington was just stressing the solution should be constitutional and democratic.
Since Yingluck's ouster a caretaker prime minister has taken over, and the government wants elections planned for July to go ahead. But the way ahead is uncertain. The government's opponents are demanding a new, unelected prime minister first take over and implement political reforms.
Thailand's military has intervened many times during decades of political tumult. Most recently it toppled Thaksin in a 2006 coup. Thaksin now lives in exile to escape prison on a corruption conviction.
Senior U.S. Defense Department official Amy Searight said the U.S. is "reasonably confident" that wouldn't happen this time. She said the Thai military has been "pretty open" that it has no interest in getting involved in running Thai politics again, and U.S. was commending the military for its restraint.
"At this point in time we don't have reason to expect that the Thai military will change their current stance," she said, but added it was a complex situation and a lot could happen.
U.S. analysts said that given the pessimism over the prospects for a political compromise, a violent conflict was the most likely outcome. They said that would be a blow to democratic governance in Southeast Asia and a setback to U.S. strategic interests.
Former U.S. defense official Vikram Singh said there are those on both sides in Thailand who are preparing in case armed conflict breaks out, which could prompt a Thai military intervention to restore stability.
"It's something we should be preparing to face, should it come to that," he said.
But Thitinan Pongsudhirak, a political analyst from Bangkok's Chulalongkorn University, said protesters in Thailand on both sides would be "aghast" at the notion that the U.S. or China could shape the outcome of Thai crisis.
He said the best way to help would be to encourage the Thai parties to talk to each other.
ถอดความจากภาษายูเครน , อังกฤษ และ ไทย :
จนท.ด้านความมั่นคงระดับอาสุโสของมะกันยืนยันเมื่อวันอังคารนี้ว่า
สหรัฐมีเหตุผลที่ทำให้มั่นใจว่า "ไอ้เหล่" จะไม่กล้ายึดอำนาจอย่างแน่นอน
แม้จะมีการวิเคราะห์ว่าอาจมีความเสี่ยงจากพฤติกรรมของ "ไอ้เทือก" เรื่อง ม.7
และ ท่าทีของประธานเถื่อนอย่าง "ไอ้เลี้ยง" ที่นอบน้อมกับ "กบฏ" เหมือนแมวเหมียว มาเป็นตัวกระตุ้น "ไอ้เหล่" ก็ตาม
ตั้งแต่เกิดวิกฤติการเมืองจากม๊อบ "มินิมวลหมา" ปลายปีก่อน
มีจำนวนผู้เสียชีวิตไปแล้วกว่า 20 คน และ บาดเจ็บอีกนับร้อยคน
8 ปีของความกลียุคใน "ประเทศทุย" ได้กลายมาเป็นกับดักทางการเมืองของคน 2 กลุ่มที่ไม่มีทางญาติดีกันได้
ระหว่างคนชนบทที่เลือกรัฐบาล "พี่แม้ว" กับ อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งก็คือ "แก๊งส์อำมาตาย์" ที่ตัวใหญ่ของกลุ่มนี้เป็นคนปักษ์ใต้ที่เป็นระดับชนชั้นนำของ "ประเทศทุย"
สถานการณ์เรียกแขกเกิดขึ้นเมื่ออาทิตย์ก่อน
หลังจาก "สานรัดทำมะนวย" (ที่ 1 ในนั้นมีเมียโกงที่ดินเพื่อน) ได้วินิจฉัยคดี
และ ทำการเด้ง "น้องปู" นายกฯหญิงคนที่ 2 ของ "ประเทศทุย" ให้พ้นจากเก้าอี้
ซึ่งทำให้ "ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้" เพราะพวกมะกันต้องมานั่งถกกันวุ่นวาย
ว่าจะทำอย่างไรที่จะช่วย "ประเทศทุย" ให้พ้นวิกฤติ เนื่องจากเป็นประเทศพันธมิตรทางทหารของมะกัน แถมมะกันยังมีผลประโยชน์มากมายอยู่ที่นี่
จนท.มะกันแสดงท่าทีในเรื่องนี้ผ่านเวทีการประชุมว่า
มะกันกำลังจับตาดูอย่างใกล้ชิดในการจะพา "ประเทศทุย" ไปสู่เผด็จการของ "ไอ้เทือก"
แต่ก็ยังไม่ได้มีแผนที่จะเข้าไปแทรกแซงอะไร เพราะเชื่อว่า "ไอ้เทือก" , "ไอ้เหล่" , "ไอ้เลี้ยง" จะไม่กล้าทำเรื่องเลวๆชั่วช้าสามานย์แน่ๆ
"การเมืองภายในมันเป็นเรื่องเฉพาะครับ
ฝรั่งมั่งค่าที่ไหนก็มาช่วยแก้ไขไม่ได้หรอก
มันต้องคนทุย กับ คนทุย ที่ต้องช่วยกันหาทางออก"
สก็อต มาซีเอล นักการทูตด้านเอเชียตะวันออกของมะกันใด้ให้ความเห็น
และ สก็อตยังบอกด้วยว่าทางวอชิงตันเน้นว่าการแก้ปัญหาจะต้อง "อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ และ เป็นประชาธิปไตย"
ตั้งแต่นายกฯหญิงคนที่ 2 พ้นตำแหน่ง
มีนายกฯรักษาการมาทำหน้าที่ (ชนิดที่สลิ่มดิ้นพล่านเพราะผิดหวังสุดๆ)
และ รัฐบาลเสื้อแดงยังคงก้มหน้าก้มตาเดินหน้าแผนการเลือกตั้งในเดือนกรกฏาคมนั้น
หนทางที่คนทุยทั้งประเทศจะได้ "ใช้สิทธิ์" โดยที่ไม่ต้องมีใครมา "คิดแทน" ยังคงตีบตัน
เพราะ "กบฏมินิมวลหมา" ได้พยายามเรียกร้องขอ "นายกฯเถื่อน" ที่ไม่ต้องผ่านการเลือกตั้ง
แถมไอ้พวกกบฏเหล่านี้ยังยื่นข้อเสนอขอ "ปฏิรูปการเมือง" ที่จะเป็นการเขียนกติกาใหม่ให้พวกมันชนะไปจนชั่วฟ้าดินสลายอีกต่างหาก
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา
กระบวนการ "สางเขียว" ของ "ประเทศทุย"
ที่ประกอบไปด้วย "ไอ้บัง" , "ไอ้ป๊อก" , "ไอ้พรั่ง" และ "ไอ้เหล่"
ได้ทำตัวเป็นทหารนอกแถวปล้นประชาธิปไตยไปจากประชาชนมาแล้วหลายครั้ง
โดยในปี 49 ไอ้พวกนี้ได้เอารถถังออกมายึดเก้าอี้ "พี่แม้ว" แบบใจตุ๊ดระหว่างที่พี่เขาไปเยือนแดนลุงแซม
และ จนถึงตอนนี้ "พี่แม้ว" เลยกลายเป็นคนพเนจรท่องโลกลั้ลลาเพื่อหนีความอยุติธรรมทั้งหลายแหล่ซึ่งตามเล่นงาน
เพราะพวก "สางเขียว" ตั้งกลุ่ม "คนดี" ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับ "พี่แม้ว" ขึ้นมาตัดสินคดีพี่แก แต่ก็ยังดีที่นานาชาติเขาต้อนรับ "พี่แม้ว" ไม่เหมือน "ไอ้แหล" ที่ไปไหนก็ไม่มีใครอยากคบ
จนท.ระดับสูงของมะกันมีเหตุผลที่มั่นใจว่า
"ไอ้เหล่" ไม่กล้าทำอะไรแน่นอน อย่างน้อยก็ในช่วงระยะนี้
เธอบอกว่า "ไอ้เหล่" แสดงท่าทีชัดเจนว่าไม่อยากเอาคอมาขึ้นเขียงในความขัดแย้งนี้
และ "พี่โอบาม่า" ขอแสดงความชื่นชม "ไอ้เหล่" ที่รู้จักยับยั้งชั่งใจเพื่อที่จะได้เกษียณไปใช้เงินงบลับจากการยึดอำนาจในปี 49 อย่างสบายๆ
"มาถึงตอนนี้
เราไม่มีเหตุผลอะไร
ที่จะมองว่า 'ไอ้เหล่' จะเปลี่ยนท่าทีไปจากนี้"
จนท.อาวุโสบอก แต่ก็ยังทิ้งท้ายไว้ว่าสถานการณ์มันซับซ้อน และ อาจมีอะไรเกิดขึ้นได้เช่นกัน
ฝ่ายวิเคราะห์ของมะกันได้สวมวิญญาน "ริว จิตสัมผัส" วิเคราะห์ว่า
โอกาสใน "แง่ร้าย" ที่สุดของการประนีประนอมที่จะเกิดขึ้นใน "ประเทศทุย"
ไปจนถึงผลลัพธ์ในแบบรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นท่ามกลางความขัดแย้งที่หยั่งรากฝังลึกนี้
น่าจะส่งผลให้เกิดความสั่นสะเทือนของความเป็นประชาธิปไตยในแถบนี้ และ อาจทำให้มะกันต้องปรับผลประโยชน์เชิงกลยุทธ์ใหม่หมด
"วิครัม ซิงห์" อดีต จนท.กห.ของมะกันบอกว่า
มันมีการเตรียมการเอาไว้บ้างแล้วหากว่าถึงวันที่ต้องแตกหัก
ไอ้พวก "สางเขียว" มันอาจใช้การแทรกแซงโดยอ้างว่าเป็นการกระทำเพื่อฟื้นฟูความมั่นคงของ "ประเทศทุย"
"เราอาจจะต้องเตรียมตัวที่จะเผชิญกับเรื่องแบบนี้ หากว่าวันนั้นมาถึง" วิครัมว่าแบบนั้น
แต่ "ธิตินัน พงษ์สัทธิรักษ์" นักวิเคราะห์การเมืองของไทยจาก ม.สามย่านกลับเห็นต่าง
"ธิตินัน" บอกว่า ทั้ง นปช. และ มินิมวลหมา อาจจะถึงกับ "ตะลึง ตะลึง ตะลึง" ก็เป็นได้
หากรู้ว่า "พี่โอบาม่า" และ "เฮียสี่ จิ้น ผิง" มีความคิดอย่างไรกับการมา "ร่วมด้วยช่วยกัน" กำหนดรูปแบบแห่งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน "ประเทศทุย"
เขายังบอกด้วยว่าวิธีที่ดีสุดคือควรให้ทุกพรรคการเมืองหันมา "จับเข่าคุยกัน"
โดยเฉพาะ "พรรคแมงสาป" ของ "ไอ้แหล" ที่เป็นตัวปัญหามาโดยตลอด !!!!!
ขอบคุณคุณธรรมดาสามัญ ที่ให้ยืมอมยิ้มครับ
++++++++++ .......... เ มื่ อ ส ร ยุ ท ธ์ เ ล่ า ข่ า ว จ า ก สนข. ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ .......... ++++++++++
เพื่อไม่ให้เกิดการคลาดเคลื่อนในเนื้อหา
ผมซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา "ยูเครน"
ได้ถอดความแบบ 3 ชั้น จากยูเครน เป็นอังกฤษ และ จากอังกฤษมาเป็นภาษาไทยครับ
ลิ้งค์ข่าว :
http://www.themonitor.com/news/apnews/us-confident-thai-military-won-t-resort-to-coup/article_b55d3418-51e4-53e0-9678-c61c4ced7983.html?mode=jqm
เนื้อข่าว :
WASHINGTON (AP) — The U.S. is "reasonably confident" Thailand's military won't launch a coup, a senior defense official said Tuesday, although analysts warned the nation's political crisis could trigger armed conflict.
More than 20 people have died and hundreds have been injured in political violence since November, the latest episode in eight years of upheaval that has pitted the largely rural supporters of populist former Prime Minister Thaksin Shinawatra against the Southeast Asian nation's traditional elites.
The standoff entered a new and potentially dangerous phase last week when the Thai constitutional court removed Thaksin's sister Yingluck as prime minister. That's stimulated debate in Washington about how it might help calm the tensions roiling Thailand, a longstanding U.S. ally and military partner.
U.S. officials told a conference at the Center for Strategic and International Studies that they were closely monitoring the situation but had no intention of intervening.
"Like most internal political impasses and divisions, it's not something that foreigners can come in and magically fix. It has to be a Thai solution," said the senior diplomat for Southeast Asia, Scot Marciel. He said Washington was just stressing the solution should be constitutional and democratic.
Since Yingluck's ouster a caretaker prime minister has taken over, and the government wants elections planned for July to go ahead. But the way ahead is uncertain. The government's opponents are demanding a new, unelected prime minister first take over and implement political reforms.
Thailand's military has intervened many times during decades of political tumult. Most recently it toppled Thaksin in a 2006 coup. Thaksin now lives in exile to escape prison on a corruption conviction.
Senior U.S. Defense Department official Amy Searight said the U.S. is "reasonably confident" that wouldn't happen this time. She said the Thai military has been "pretty open" that it has no interest in getting involved in running Thai politics again, and U.S. was commending the military for its restraint.
"At this point in time we don't have reason to expect that the Thai military will change their current stance," she said, but added it was a complex situation and a lot could happen.
U.S. analysts said that given the pessimism over the prospects for a political compromise, a violent conflict was the most likely outcome. They said that would be a blow to democratic governance in Southeast Asia and a setback to U.S. strategic interests.
Former U.S. defense official Vikram Singh said there are those on both sides in Thailand who are preparing in case armed conflict breaks out, which could prompt a Thai military intervention to restore stability.
"It's something we should be preparing to face, should it come to that," he said.
But Thitinan Pongsudhirak, a political analyst from Bangkok's Chulalongkorn University, said protesters in Thailand on both sides would be "aghast" at the notion that the U.S. or China could shape the outcome of Thai crisis.
He said the best way to help would be to encourage the Thai parties to talk to each other.
ถอดความจากภาษายูเครน , อังกฤษ และ ไทย :
จนท.ด้านความมั่นคงระดับอาสุโสของมะกันยืนยันเมื่อวันอังคารนี้ว่า
สหรัฐมีเหตุผลที่ทำให้มั่นใจว่า "ไอ้เหล่" จะไม่กล้ายึดอำนาจอย่างแน่นอน
แม้จะมีการวิเคราะห์ว่าอาจมีความเสี่ยงจากพฤติกรรมของ "ไอ้เทือก" เรื่อง ม.7
และ ท่าทีของประธานเถื่อนอย่าง "ไอ้เลี้ยง" ที่นอบน้อมกับ "กบฏ" เหมือนแมวเหมียว มาเป็นตัวกระตุ้น "ไอ้เหล่" ก็ตาม
ตั้งแต่เกิดวิกฤติการเมืองจากม๊อบ "มินิมวลหมา" ปลายปีก่อน
มีจำนวนผู้เสียชีวิตไปแล้วกว่า 20 คน และ บาดเจ็บอีกนับร้อยคน
8 ปีของความกลียุคใน "ประเทศทุย" ได้กลายมาเป็นกับดักทางการเมืองของคน 2 กลุ่มที่ไม่มีทางญาติดีกันได้
ระหว่างคนชนบทที่เลือกรัฐบาล "พี่แม้ว" กับ อีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งก็คือ "แก๊งส์อำมาตาย์" ที่ตัวใหญ่ของกลุ่มนี้เป็นคนปักษ์ใต้ที่เป็นระดับชนชั้นนำของ "ประเทศทุย"
สถานการณ์เรียกแขกเกิดขึ้นเมื่ออาทิตย์ก่อน
หลังจาก "สานรัดทำมะนวย" (ที่ 1 ในนั้นมีเมียโกงที่ดินเพื่อน) ได้วินิจฉัยคดี
และ ทำการเด้ง "น้องปู" นายกฯหญิงคนที่ 2 ของ "ประเทศทุย" ให้พ้นจากเก้าอี้
ซึ่งทำให้ "ฝนที่ตกทางโน้น หนาวถึงคนทางนี้" เพราะพวกมะกันต้องมานั่งถกกันวุ่นวาย
ว่าจะทำอย่างไรที่จะช่วย "ประเทศทุย" ให้พ้นวิกฤติ เนื่องจากเป็นประเทศพันธมิตรทางทหารของมะกัน แถมมะกันยังมีผลประโยชน์มากมายอยู่ที่นี่
จนท.มะกันแสดงท่าทีในเรื่องนี้ผ่านเวทีการประชุมว่า
มะกันกำลังจับตาดูอย่างใกล้ชิดในการจะพา "ประเทศทุย" ไปสู่เผด็จการของ "ไอ้เทือก"
แต่ก็ยังไม่ได้มีแผนที่จะเข้าไปแทรกแซงอะไร เพราะเชื่อว่า "ไอ้เทือก" , "ไอ้เหล่" , "ไอ้เลี้ยง" จะไม่กล้าทำเรื่องเลวๆชั่วช้าสามานย์แน่ๆ
"การเมืองภายในมันเป็นเรื่องเฉพาะครับ
ฝรั่งมั่งค่าที่ไหนก็มาช่วยแก้ไขไม่ได้หรอก
มันต้องคนทุย กับ คนทุย ที่ต้องช่วยกันหาทางออก"
สก็อต มาซีเอล นักการทูตด้านเอเชียตะวันออกของมะกันใด้ให้ความเห็น
และ สก็อตยังบอกด้วยว่าทางวอชิงตันเน้นว่าการแก้ปัญหาจะต้อง "อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ และ เป็นประชาธิปไตย"
ตั้งแต่นายกฯหญิงคนที่ 2 พ้นตำแหน่ง
มีนายกฯรักษาการมาทำหน้าที่ (ชนิดที่สลิ่มดิ้นพล่านเพราะผิดหวังสุดๆ)
และ รัฐบาลเสื้อแดงยังคงก้มหน้าก้มตาเดินหน้าแผนการเลือกตั้งในเดือนกรกฏาคมนั้น
หนทางที่คนทุยทั้งประเทศจะได้ "ใช้สิทธิ์" โดยที่ไม่ต้องมีใครมา "คิดแทน" ยังคงตีบตัน
เพราะ "กบฏมินิมวลหมา" ได้พยายามเรียกร้องขอ "นายกฯเถื่อน" ที่ไม่ต้องผ่านการเลือกตั้ง
แถมไอ้พวกกบฏเหล่านี้ยังยื่นข้อเสนอขอ "ปฏิรูปการเมือง" ที่จะเป็นการเขียนกติกาใหม่ให้พวกมันชนะไปจนชั่วฟ้าดินสลายอีกต่างหาก
ในรอบทศวรรษที่ผ่านมา
กระบวนการ "สางเขียว" ของ "ประเทศทุย"
ที่ประกอบไปด้วย "ไอ้บัง" , "ไอ้ป๊อก" , "ไอ้พรั่ง" และ "ไอ้เหล่"
ได้ทำตัวเป็นทหารนอกแถวปล้นประชาธิปไตยไปจากประชาชนมาแล้วหลายครั้ง
โดยในปี 49 ไอ้พวกนี้ได้เอารถถังออกมายึดเก้าอี้ "พี่แม้ว" แบบใจตุ๊ดระหว่างที่พี่เขาไปเยือนแดนลุงแซม
และ จนถึงตอนนี้ "พี่แม้ว" เลยกลายเป็นคนพเนจรท่องโลกลั้ลลาเพื่อหนีความอยุติธรรมทั้งหลายแหล่ซึ่งตามเล่นงาน
เพราะพวก "สางเขียว" ตั้งกลุ่ม "คนดี" ที่เป็นฝ่ายตรงข้ามกับ "พี่แม้ว" ขึ้นมาตัดสินคดีพี่แก แต่ก็ยังดีที่นานาชาติเขาต้อนรับ "พี่แม้ว" ไม่เหมือน "ไอ้แหล" ที่ไปไหนก็ไม่มีใครอยากคบ
จนท.ระดับสูงของมะกันมีเหตุผลที่มั่นใจว่า
"ไอ้เหล่" ไม่กล้าทำอะไรแน่นอน อย่างน้อยก็ในช่วงระยะนี้
เธอบอกว่า "ไอ้เหล่" แสดงท่าทีชัดเจนว่าไม่อยากเอาคอมาขึ้นเขียงในความขัดแย้งนี้
และ "พี่โอบาม่า" ขอแสดงความชื่นชม "ไอ้เหล่" ที่รู้จักยับยั้งชั่งใจเพื่อที่จะได้เกษียณไปใช้เงินงบลับจากการยึดอำนาจในปี 49 อย่างสบายๆ
"มาถึงตอนนี้
เราไม่มีเหตุผลอะไร
ที่จะมองว่า 'ไอ้เหล่' จะเปลี่ยนท่าทีไปจากนี้"
จนท.อาวุโสบอก แต่ก็ยังทิ้งท้ายไว้ว่าสถานการณ์มันซับซ้อน และ อาจมีอะไรเกิดขึ้นได้เช่นกัน
ฝ่ายวิเคราะห์ของมะกันได้สวมวิญญาน "ริว จิตสัมผัส" วิเคราะห์ว่า
โอกาสใน "แง่ร้าย" ที่สุดของการประนีประนอมที่จะเกิดขึ้นใน "ประเทศทุย"
ไปจนถึงผลลัพธ์ในแบบรุนแรงที่อาจจะเกิดขึ้นท่ามกลางความขัดแย้งที่หยั่งรากฝังลึกนี้
น่าจะส่งผลให้เกิดความสั่นสะเทือนของความเป็นประชาธิปไตยในแถบนี้ และ อาจทำให้มะกันต้องปรับผลประโยชน์เชิงกลยุทธ์ใหม่หมด
"วิครัม ซิงห์" อดีต จนท.กห.ของมะกันบอกว่า
มันมีการเตรียมการเอาไว้บ้างแล้วหากว่าถึงวันที่ต้องแตกหัก
ไอ้พวก "สางเขียว" มันอาจใช้การแทรกแซงโดยอ้างว่าเป็นการกระทำเพื่อฟื้นฟูความมั่นคงของ "ประเทศทุย"
"เราอาจจะต้องเตรียมตัวที่จะเผชิญกับเรื่องแบบนี้ หากว่าวันนั้นมาถึง" วิครัมว่าแบบนั้น
แต่ "ธิตินัน พงษ์สัทธิรักษ์" นักวิเคราะห์การเมืองของไทยจาก ม.สามย่านกลับเห็นต่าง
"ธิตินัน" บอกว่า ทั้ง นปช. และ มินิมวลหมา อาจจะถึงกับ "ตะลึง ตะลึง ตะลึง" ก็เป็นได้
หากรู้ว่า "พี่โอบาม่า" และ "เฮียสี่ จิ้น ผิง" มีความคิดอย่างไรกับการมา "ร่วมด้วยช่วยกัน" กำหนดรูปแบบแห่งสถานการณ์ที่เกิดขึ้นใน "ประเทศทุย"
เขายังบอกด้วยว่าวิธีที่ดีสุดคือควรให้ทุกพรรคการเมืองหันมา "จับเข่าคุยกัน"
โดยเฉพาะ "พรรคแมงสาป" ของ "ไอ้แหล" ที่เป็นตัวปัญหามาโดยตลอด !!!!!
ขอบคุณคุณธรรมดาสามัญ ที่ให้ยืมอมยิ้มครับ