ก่อนอื่นต้องขอโทษด้วยครับ หาก Tag หรือตั้งกระทู้ผิดห้อง แต่คิดว่าน่าจะเป็นห้องนี้ ถ้าผิดรบกวนแนะนำด้วยครับ
ตอนนี้กำลังจะทำงานวิจัยเรื่องเด็กครับ ติดตรงคำนิยามว่าจะนิยาม เด็ก ยังไงดี บางตำราก็ว่าเด็กคือ ผู้มีอายุไม่ถึง 18 ปี บางตำราก็ว่า 3-12 ปี ผมเลยคิดว่าจะอ้างอิงตามกฎหมายไทยที่ว่า เด็ก คือ บุคคลผู้มีคำนำหน้าว่า เด็กชาย/เด็กหญิง ก็คือ 0-14 ปี เพราะ 15 ปี ทำบัตรประชาชนจะเปลี้ยนเป็น นาย/นางสาว เลยอยากสอบถามว่า
1.ทำไมกฎหมายต้องระบุให้คนอายุครบ 15 ปีขึ้นไปต้องทำบัตรครับ ทำไมไม่กำหนดให้ต่ำกว่านี้ เช่น 12 ปี เป็นวัยรุ่น (อ้างอิงนิยามคำว่า teen จากภาษาอังกฤษ) ทำบัตรได้ เป็นต้น
2.ถ้าจะนิยามคำว่า เด็ก แต่ละท่านมีคำแนะนำไหมครับว่า เด็ก ควรมีอายุเท่าไหร่ถึงเท่าไหร่ เอาแบบสามารถอ้างอิงเชิงวิชาการได้นะครับ รบกวนด้วยครับ
ขอบคุณมากครับ
นิยามคำว่า เด็ก กับ การทำบัตรประจำตัวประชาชน
ตอนนี้กำลังจะทำงานวิจัยเรื่องเด็กครับ ติดตรงคำนิยามว่าจะนิยาม เด็ก ยังไงดี บางตำราก็ว่าเด็กคือ ผู้มีอายุไม่ถึง 18 ปี บางตำราก็ว่า 3-12 ปี ผมเลยคิดว่าจะอ้างอิงตามกฎหมายไทยที่ว่า เด็ก คือ บุคคลผู้มีคำนำหน้าว่า เด็กชาย/เด็กหญิง ก็คือ 0-14 ปี เพราะ 15 ปี ทำบัตรประชาชนจะเปลี้ยนเป็น นาย/นางสาว เลยอยากสอบถามว่า
1.ทำไมกฎหมายต้องระบุให้คนอายุครบ 15 ปีขึ้นไปต้องทำบัตรครับ ทำไมไม่กำหนดให้ต่ำกว่านี้ เช่น 12 ปี เป็นวัยรุ่น (อ้างอิงนิยามคำว่า teen จากภาษาอังกฤษ) ทำบัตรได้ เป็นต้น
2.ถ้าจะนิยามคำว่า เด็ก แต่ละท่านมีคำแนะนำไหมครับว่า เด็ก ควรมีอายุเท่าไหร่ถึงเท่าไหร่ เอาแบบสามารถอ้างอิงเชิงวิชาการได้นะครับ รบกวนด้วยครับ
ขอบคุณมากครับ