คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 7
แต่ละ คณะ สาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน
ต้องเริ่มทบทวนเนื้อหา สายสามัญ ม.ปลาย ม.5 ม.6 ได้แล้ว
น้องต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็นอย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไร แล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบ แล้วจะมีความสุขในการเรียน
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนาเกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มีเรียน เขียนโปรแกรม
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง ภาษาอังกฤษ E และ คณิตศาสตร์ ถึงจะดี อ่านให้เข้าใจ ปิด หนังสือ เขียนตามที่เรา เข้าใจ ของเรา อย่า เขียนตามหนังสือ เพราะ หนังสือ ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้าเขียนตามหนังสือ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม เป็นได้
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน คอมพิวเตอร์
หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมี หลาย สาขา ภาควิชา ให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis SA จะต่างกันตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา
ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
สาขา ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป
เจาะลึก "วิทยาการคอมพิวเตอร์" http://www.youtube.com/watch?v=Z9SdHDdJcUU
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน Algorithm, Data Structure และ Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ Object โดยใช้ภาษา Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ Database ได้ สามารถเขียน
โปรแกรม Web based ได้ สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา UML ได้ มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี คือ
. ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา UML
. สามารถใช้ CASE Tool ได้
. สามารถเขียนภาษา Java ในระดับ J2EE ได้
. สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง Web Service ได้
. สามารถออกแบบ Database Application ที่เป็น Web based ได้ โดยใช้ Oracle database หรือ Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
. Software Developer
. Programmer
. Software Test Engineer
. Network Engineer
. Programmer
. System Administrator
สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นกิจกรรมที่วับซ้อนที่สุดของมนุษยชาติ เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ปัจจุบันมีวิทยาการที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ที่เริ่มทำให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ เกิดตามหลัก
"วิศวกรรมศาสตร์" ซึ่งสามารถลดโอกาสล้มเหลวได้Oriented Technology, ภาษา UML, การจัดทำ Software Quality Assurance, กระบวนการบริหารโครงการ, เรื่อง
CMMเศร้าCapability Maturity Model)
นักศึกษาจะได้ทักษะดังนี้
. สามารถออกแบบซอฟต์แวร์ที่มีโครงสร้างดี โดยใช้ภาษา UML
. สามารถประยุกต์เทคโนโลยี CMM:กับองค์กร
. สามารถทดสอบซอฟต์แวร์โดยกรรมวิธีมาตรฐาน
. สามารถใช้ Case Tool ได้
. สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้เทคโนโลยี.Net หรือ J2EE
อาชีพที่นักศึกษาทำได้ มีดังนี้
. วิศวกรซอฟต์แวร์
. นักพัฒนาซอฟต์แวร์
. โปรแกรมเมอร์
. ผู้เชี่ยวชาญ Case Tool
. Consultant(เมื่อมีประสิทธิภาพมากขึ้นแล้ว)
ศึกษาหลักการและกระบวนการในการพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ตั้งแต่การรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ การวิเคราะห์การออกแบบ การวางกรอบการทดสอบ การกำหนดฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม และการทดสอบ ฯลฯ ครบทั้งวงจรของการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากลเช่น ISO และ CMMI ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศในปัจจุบัน
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ICT
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเศและการสื่อสารได้ร่างขึ้นโดยอาศัยเกณฑ์ที่ตั้งโดยสมาคม ACM (Association of Computing Machinery) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาจัดทำขึ้นและเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก การศึกษาเน้นการจัดเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจ ภาครัฐ ความต้องการในวงการแพทย์ ความต้องการในวงการศึกษา และความต้องการในธุรกิจอื่น ๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในและต่างประเทศ
อาชีพ
- นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
- นักพัฒนาโปรแกรมใช้ภาษา Java
- ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย
- ผู้จัดการโครงการสารสนเทศ
- นักพัฒนาเว็บไซต์
มุ่งเน้นการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการดูแลบริหารจัดการระบบเครือข่าย ระบบฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ การป้องกันภัยของระบบรวมทั้งการดูแลจัดการข้อมูลสารสนเทศในองค์กรของรัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางด้านข้อมูลสารสนเทศด้วย
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์-การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน
เพื่อผลิตบุคลากรทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มีทักษะความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ที่ทำงานในสภาวะแวดล้อมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์แท๊บเลต หรือสมาร์ทโฟน ซึ่งมีความต้องการนักพัฒนาซอฟต์แวร์บนอุปกรณ์เคลื่อนจำนวนมากอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้เป็นความสอดคล้องกับนโยบายและวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ที่ต้องการมุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยี การวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่เก่งและดี อาชีพหลักที่เป็นได้ มีดังนี้
• นักวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
• นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ระบบงานฐานข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์โมบาย
• นักวิชาชีพอิสระที่สามารถใช้วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์กับการทำงานบนอุปกรณ์โมบาย
ศึกษาศาสตร์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ที่เน้นทฤษฎี แนวคิด อัลกอริทึม(Algorithms) ตรรกะการออกแบบระบบงาน การใช้งานฐานข้อมูล การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน โดยผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เช่น ระบบงานฐานข้อมูล รวมทั้งการแก้ไขปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถที่จะเขียนโปรแกรมประยุกต์ที่สอดคล้องกับความต้องการ ของภาครัฐและเอกชน
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวกับ การสร้างโปรแกรมบน Windows Platform การออกแบบระบบเครือข่าย การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล และการสร้างเว็บไซต์
โอกาสในอนาคต
นักจัดการด้าน IT นักติดตั้งและวางระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบเพื่อตัดสินใจ ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งส่วนราชการ และเอกชน
เพื่อนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในหน่วยงาน
อาชีพ Web design การจัดการข้อมูล(Database Management) เขียนโปรแกรมบนมือถือ programmer วิเคราะห์และออกแบบระบบ(System Analysis)
ประกอบอาชีพ การออกแบบระบบเครือข่าย โปรแกรมเมอร์ หรือ ผู้ดูแลระบบในด้านต่าง ๆ ผู้สร้าง และ ดูแลเว็บไซต์
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
เจาะลึกคณะ..จิตวิทยา 1 http://www.youtube.com/watch?v=MQa7wzVa-VQ
เจาะลึกคณะ..จิตวิทยา 2 http://www.youtube.com/watch?v=F8swdiKM7Xw
ต้องเริ่มทบทวนเนื้อหา สายสามัญ ม.ปลาย ม.5 ม.6 ได้แล้ว
น้องต้องหาตัวเองให้พบ ถนัดอะไร ไม่ถนัดอะไร บุคลิกภาพ เป็นอย่างไร เรียนจบแล้วอยากทำงานเกี่ยวกับอะไร แล้วเลือกเรียนในสิ่งที่ใช่ทำในสิ่งที่ชอบ แล้วจะมีความสุขในการเรียน
ถ้า ถนัด เขียนโปรแกรม สาขา ภาควิชา คอมพิวเตอร์
ถ้า ถนัด ออกแบบ พัฒนาเกม สาขา ภาควิชา เกม สาขา ภาควิชา เกม ก็มีเรียน เขียนโปรแกรม
เขียนโปรแกรม ต้องเก่ง ภาษาอังกฤษ E และ คณิตศาสตร์ ถึงจะดี อ่านให้เข้าใจ ปิด หนังสือ เขียนตามที่เรา เข้าใจ ของเรา อย่า เขียนตามหนังสือ เพราะ หนังสือ ก็ มีข้อผิดพลาด ถ้าเขียนตามหนังสือ แล้ว บอกว่า เขียนโปรแกรม เป็น ได้ ใคร ๆ ก็ เขียนโปรแกรม เป็นได้
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา หนีการเขียนโปรแกรมไม่พ้น คอมพิวเตอร์แต่ละสาขา ภาควิชา เน้นคนละด้าน คอมพิวเตอร์
หลักสูตรวิทยาศาสตร จะมี หลาย สาขา ภาควิชา ให้เลือกเรียนเยอะ
คอมพิวเตอร์ทุกสาขา ภาควิชา จะเรียนเหมือนกัน 3 วิชา ฐานข้อมูล Database
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network วิเคราะห์และออกแบบระบบ System Analysis SA จะต่างกันตรง ชื่อวิชา รหัสวิชา
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา วิศวกรรมซอฟต์แวร์ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี
สาขา ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา
ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
สาขา ภาควิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
สาขา ภาควิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตรวิทยาศาสตร จะเน้น การเขียนโปรแกรม ภาษาจาวา ภาษาจาวา ต้องมีพื้นฐาน ภาษาซี การสื่อสารข้อมูลและเครือข่าย Data Communication and Network
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะอยู่ใน คณะ ที่แตกต่างกันไป
คอมพิวเตอร์ แต่ละ มหาวิทยาลัย จะใช้ชื่อ สาขา ภาควิชา ที่แตกต่างกันไป
เจาะลึก "วิทยาการคอมพิวเตอร์" http://www.youtube.com/watch?v=Z9SdHDdJcUU
บุคลิกภาพของผู้เรียน
.มีเหตุมีผลในการตัดสินใจ
.มีความกระตือรือร้นในการเรียน
.ติดตามความเคลื่อนไหวเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เน้นที่ความเข้าใจถึงศาสตร์และศิลป์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์ โดยมีพื้นฐานอย่างดีในด้าน Algorithm, Data Structure และ Discrete
Mathematics นักศึกษาจะต้องมีความเชี่ยวชาญอย่างสูงในวิทยาการแบบ Object โดยใช้ภาษา Java และเทคโนโลยี .Netสามารถพัฒนาระบบ Database ได้ สามารถเขียน
โปรแกรม Web based ได้ สามารถออกแบบโดยใช้ภาษา UML ได้ มีความเข้าใจในเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องด้านSecurity, Web Service และ Computer Architecture
ทักษะที่นักศึกษาต้องมี คือ
. ออกแบบ Object-Oriented Software โดยใช้ภาษา UML
. สามารถใช้ CASE Tool ได้
. สามารถเขียนภาษา Java ในระดับ J2EE ได้
. สามารถใช้เทคโนโลยี.Net ในการสร้าง Web Service ได้
. สามารถออกแบบ Database Application ที่เป็น Web based ได้ โดยใช้ Oracle database หรือ Microsoft SQL Server ได้
อาชีพที่เปิดกว้างสำหรับผู้ที่มีความสนใจที่จะทำงานที่น่าท้าทายยิ่งขึ้น สำหรับผู้ที่สำเร็จสาขานี้จะ สามารถทำงานเป็น
. Software Developer
. Programmer
. Software Test Engineer
. Network Engineer
. Programmer
. System Administrator
สาขาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาซอฟต์แวร์ เป็นกิจกรรมที่วับซ้อนที่สุดของมนุษยชาติ เป็นทั้งศาสตร์และศิลป์ ปัจจุบันมีวิทยาการที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ ที่เริ่มทำให้การพัฒนาซอฟต์แวร์ เกิดตามหลัก
"วิศวกรรมศาสตร์" ซึ่งสามารถลดโอกาสล้มเหลวได้Oriented Technology, ภาษา UML, การจัดทำ Software Quality Assurance, กระบวนการบริหารโครงการ, เรื่อง
CMMเศร้าCapability Maturity Model)
นักศึกษาจะได้ทักษะดังนี้
. สามารถออกแบบซอฟต์แวร์ที่มีโครงสร้างดี โดยใช้ภาษา UML
. สามารถประยุกต์เทคโนโลยี CMM:กับองค์กร
. สามารถทดสอบซอฟต์แวร์โดยกรรมวิธีมาตรฐาน
. สามารถใช้ Case Tool ได้
. สามารถเขียนโปรแกรมโดยใช้เทคโนโลยี.Net หรือ J2EE
อาชีพที่นักศึกษาทำได้ มีดังนี้
. วิศวกรซอฟต์แวร์
. นักพัฒนาซอฟต์แวร์
. โปรแกรมเมอร์
. ผู้เชี่ยวชาญ Case Tool
. Consultant(เมื่อมีประสิทธิภาพมากขึ้นแล้ว)
ศึกษาหลักการและกระบวนการในการพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ ตั้งแต่การรวบรวมความต้องการของผู้ใช้ การวิเคราะห์การออกแบบ การวางกรอบการทดสอบ การกำหนดฐานข้อมูล การเขียนโปรแกรม และการทดสอบ ฯลฯ ครบทั้งวงจรของการพัฒนาซอฟต์แวร์ที่สอดคล้องกับความต้องการของการพัฒนาซอฟต์แวร์โดยเทคโนโลยีที่ทันสมัยตามข้อกำหนดที่เป็นมาตรฐานสากลเช่น ISO และ CMMI ซึ่งเป็นที่ยอมรับของนานาประเทศในปัจจุบัน
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ICT
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเศและการสื่อสารได้ร่างขึ้นโดยอาศัยเกณฑ์ที่ตั้งโดยสมาคม ACM (Association of Computing Machinery) แห่งประเทศสหรัฐอเมริกาจัดทำขึ้นและเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก การศึกษาเน้นการจัดเตรียมบัณฑิตให้รองรับงานเทคโนโลยีสารสนเทศในส่วนของธุรกิจ ภาครัฐ ความต้องการในวงการแพทย์ ความต้องการในวงการศึกษา และความต้องการในธุรกิจอื่น ๆ ที่ต้องการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสร้างบุคลากรที่มีความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและภาคปฏิบัติควบคู่กันไป ทั้งนี้เพื่อรองรับความต้องการขององค์กร และผู้ใช้งานในองค์กรในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทั้งในและต่างประเทศ
อาชีพ
- นักวิชาการเทคโนโลยีสารสนเทศ
- นักวิเคราะห์และออกแบบระบบงานสารสนเทศ
- นักพัฒนาโปรแกรมใช้ภาษา Java
- ผู้ดูแลระบบเครือข่ายและเครื่องแม่ข่าย
- ผู้จัดการโครงการสารสนเทศ
- นักพัฒนาเว็บไซต์
มุ่งเน้นการเรียนรู้ทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติควบคู่กันไป เพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญในการดูแลบริหารจัดการระบบเครือข่าย ระบบฐานข้อมูล ระบบปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ การป้องกันภัยของระบบรวมทั้งการดูแลจัดการข้อมูลสารสนเทศในองค์กรของรัฐและเอกชน นอกจากนี้ยังมีความสามารถในการเขียนโปรแกรมประยุกต์ทางด้านข้อมูลสารสนเทศด้วย
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์-การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน
เพื่อผลิตบุคลากรทางวิทยาการคอมพิวเตอร์ที่มีทักษะความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ที่ทำงานในสภาวะแวดล้อมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่ เช่น คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์แท๊บเลต หรือสมาร์ทโฟน ซึ่งมีความต้องการนักพัฒนาซอฟต์แวร์บนอุปกรณ์เคลื่อนจำนวนมากอย่างมีนัยสำคัญ ทั้งนี้เป็นความสอดคล้องกับนโยบายและวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ที่ต้องการมุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยี การวิจัย และการผลิตบัณฑิตที่เก่งและดี อาชีพหลักที่เป็นได้ มีดังนี้
• นักวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือนักวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
• นักพัฒนาซอฟต์แวร์ ระบบงานฐานข้อมูล และโปรแกรมประยุกต์บนอุปกรณ์โมบาย
• นักวิชาชีพอิสระที่สามารถใช้วิทยาการคอมพิวเตอร์ประยุกต์กับการทำงานบนอุปกรณ์โมบาย
ศึกษาศาสตร์ของการพัฒนาซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ ที่เน้นทฤษฎี แนวคิด อัลกอริทึม(Algorithms) ตรรกะการออกแบบระบบงาน การใช้งานฐานข้อมูล การพัฒนาโมบายแอพพลิเคชัน โดยผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์เช่น ระบบงานฐานข้อมูล รวมทั้งการแก้ไขปัญหาทางด้านซอฟต์แวร์ นอกจากนี้ผู้เรียนยังสามารถที่จะเขียนโปรแกรมประยุกต์ที่สอดคล้องกับความต้องการ ของภาครัฐและเอกชน
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกี่ยวกับ การสร้างโปรแกรมบน Windows Platform การออกแบบระบบเครือข่าย การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล และการสร้างเว็บไซต์
โอกาสในอนาคต
นักจัดการด้าน IT นักติดตั้งและวางระบบคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบเพื่อตัดสินใจ ให้กับหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งส่วนราชการ และเอกชน
เพื่อนำระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในหน่วยงาน
อาชีพ Web design การจัดการข้อมูล(Database Management) เขียนโปรแกรมบนมือถือ programmer วิเคราะห์และออกแบบระบบ(System Analysis)
ประกอบอาชีพ การออกแบบระบบเครือข่าย โปรแกรมเมอร์ หรือ ผู้ดูแลระบบในด้านต่าง ๆ ผู้สร้าง และ ดูแลเว็บไซต์
โอกาสในการทำงาน
ขึ้นกับสาขาที่ได้เลือกศึกษา ผู้เรียนสามารถเลือกทำงานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างกว้างขวาง หรือเลือกทำงานในส่วนธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศเช่น นักออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์ ผู้ดูแลเว็บไซต์ นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ นักออกแบบและพัฒนาระบบเครือข่าย ผู้ดูแลระบบเครือข่ายระบบฐานข้อมูลและระบบปฏิบัติการ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศขององค์กรผู้ออกแบบฮาร์ดแวร์สมองกลฝังตัว ผู้ออกแบบระบบ VLSI ผู้ออกแบบระบบสมองกลฝังตัว ฯลฯ นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถสร้างกิจการ SME ที่เป็นของตนเอง รวมทั้งศึกษาต่อทั้งในและต่างประเทศ
เจาะลึกคณะ..จิตวิทยา 1 http://www.youtube.com/watch?v=MQa7wzVa-VQ
เจาะลึกคณะ..จิตวิทยา 2 http://www.youtube.com/watch?v=F8swdiKM7Xw
แสดงความคิดเห็น
กำลังจะขึ้น ม.6 ควรจะเตรียมตัวยังไงดีในการหาที่เรียนต่อ?
-ตอนนี้ผมต้องทำอะไรบ้าง?
-ควรจะเตรียมตัวยังไงบ้าง?
-อะไรที่ต้องทำ?
-ผมจะได้สอบ GAT/PAT วันไหน? (เพราะดูจากในเว็บแล้วเข้าต้องการคะแนน)
-ผมตื่นตัวเกินไปรึเปล่าครับ?
แนะนำตัวหน่อยดีกว่า
-กำลังจะขึ้น ม.6 ในวันที่ 12 นี่แหละครับ
-เรียนสายวิทย์-คณิต ครับผม
-เกรดเทอมล่าสุดตกลงไปถึง 2.90 เลยทีเดียว เศร้านิดๆ ทั้งที่ผ่านมาอุตส่าห์คงไว้ที่ 3 ตลอดแล้วเชียว
-อยากเป็นโปรแกรมเมอร์ครับ หรือถ้าทางนี้ไม่ไหว ก็ชอบจิตวทยาอยู่เหมือนกันนะ อิอิ
แล้วก็อยากได้คำแนะนำจากทุกคนน่ะครับ ขอบคุณจากใจจริงมา ณ ที่นี้ด้วยครับ