ใจเย็นๆ ฮะ ช่วยๆ กันคิด อย่าเพิ่งรีบร้อน
มาตรา ๑๘๒
ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่ เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๗๔
(๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๘๓
(๗)
กระทำการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙
(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
นอกจากเหตุที่ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแล้ว ความเป็น รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี่ ด้วย
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใช้บังคับกับการสิ้นสุดของความเป็น รัฐมนตรีตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง โดยให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ส่งเรื่อง ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได้ด้วย
.............................................................................................................................................................................................
มาตรา ๒๖๖
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ใช้สถานะหรือ ตำแหน่งการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเข้าไป
ก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อประโยชน์ ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ในเรื่องดังต่อไปนี้
(เพื่อผลประโยชน์ของผู้อื่น ยังกระทำไม่ได้ งั้นก็คงย้ายใครไม่ได้เลยในประเทศนี้ เพราะไม่ว่าจะย้ายใคร มันก็เป็นผลประโยชน์ของผุ้อื่นทั้งน้น)
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการ ส่วนท้องถิ่น
(๒) การ
บรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่ง และเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือ
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการ ส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๒๖๗
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕
มาใช้บังคับกับนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีด้วย เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรง ตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย
........................................................................................................................................................................................
มาตรา ๑๘๐
รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๘๒
อันนี้ สิน่าสนใจ ทำไม ไม่ปลดยกคณะไปเสียเลย เมือ่ นายกฯ พ้นแล้ว ที่เหลือ อยู่ไม่ได้ แน่จริงปลดให้หมดไปเลย ตั้ง ม 7 ไปเลย ไม่กล้าใช่ใหมล่ะ กลัวพลังประชาชน
.............................................................................................................................................................................................
มาตรา ๑๘๑
คณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่ง ต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่
และ แม้ว่า นายกฯ ยิ่งลักษณ์ จะพ้นตำแหน่งแล้ว ก็ยังต้องทำหน้าที่อยู่ตามมาตรานี้
แน่นอน พ้นแล้ว ก็ยังต้องอยู่ไม่ว่าจะพ้นด้วยเหตุใด เอาสิ
เอาไงดีล่ะ อาจให้ รองนิวัฒน์ รักษาการนายกฯ สัก 2-3 วัน จนผ่านทุกเรื่องแล้ว กลับมารักษาการนายกฯ อีกก็ได้
กราบเรียนเชิญนักกฏหมาย ระดับเซียน ออกมาให้ความเห็นกัน เหมือน ท่านอุกฤษ
กฏหมายเมืองไทยซับซ้อนนะ ครม ควรไปตามนายกฯ หมดเลย แต่ ตลก ไม่กล้า ยิ่งลักษณ์ รออีก 7 วัน กลับมาเป็นนายกฯ ได้ เชื่อมะ ไปดู
มาตรา ๑๘๒
ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัว เมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ต้องคำพิพากษาให้จำคุก แม้คดีนั้นจะยังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษ เว้นแต่ เป็นกรณีที่คดียังไม่ถึงที่สุดหรือมีการรอการลงโทษในความผิดอันได้กระทำโดยประมาท ความผิดลหุโทษ หรือความผิดฐานหมิ่นประมาท
(๔) สภาผู้แทนราษฎรมีมติไม่ไว้วางใจตามมาตรา ๑๕๘ หรือมาตรา ๑๕๙
(๕) ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้ามตามมาตรา ๑๗๔
(๖) มีพระบรมราชโองการให้พ้นจากความเป็นรัฐมนตรีตามมาตรา ๑๘๓
(๗) กระทำการอันต้องห้ามตามมาตรา ๒๖๗ มาตรา ๒๖๘ หรือมาตรา ๒๖๙
(๘) วุฒิสภามีมติตามมาตรา ๒๗๔ ให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง
นอกจากเหตุที่ทำให้ความเป็นรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเฉพาะตัวตามวรรคหนึ่งแล้ว ความเป็น รัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงเมื่อครบกำหนดเวลาตามมาตรา ๑๗๑ วรรคสี่ ด้วย
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๙๑ และมาตรา ๙๒ มาใช้บังคับกับการสิ้นสุดของความเป็น รัฐมนตรีตาม (๒) (๓) (๕) หรือ (๗) หรือวรรคสอง โดยให้คณะกรรมการการเลือกตั้งเป็นผู้ส่งเรื่อง ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยได้ด้วย
.............................................................................................................................................................................................
มาตรา ๒๖๖
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ใช้สถานะหรือ ตำแหน่งการเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาเข้าไปก้าวก่ายหรือแทรกแซงเพื่อประโยชน์ ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือทางอ้อม ในเรื่องดังต่อไปนี้
(เพื่อผลประโยชน์ของผู้อื่น ยังกระทำไม่ได้ งั้นก็คงย้ายใครไม่ได้เลยในประเทศนี้ เพราะไม่ว่าจะย้ายใคร มันก็เป็นผลประโยชน์ของผุ้อื่นทั้งน้น)
(๑) การปฏิบัติราชการหรือการดำเนินงานในหน้าที่ประจำของข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการ ส่วนท้องถิ่น
(๒) การบรรจุ แต่งตั้ง โยกย้าย โอน เลื่อนตำแหน่ง และเลื่อนเงินเดือนของข้าราชการ ซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการส่วนท้องถิ่น หรือ
(๓) การให้ข้าราชการซึ่งมีตำแหน่งหรือเงินเดือนประจำและมิใช่ข้าราชการการเมือง พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ กิจการที่รัฐถือหุ้นใหญ่ หรือราชการ ส่วนท้องถิ่น พ้นจากตำแหน่ง
มาตรา ๒๖๗
ให้นำบทบัญญัติมาตรา ๒๖๕ มาใช้บังคับกับนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรีด้วย เว้นแต่เป็นการดำรงตำแหน่งหรือดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย และจะดำรง ตำแหน่งใดในห้างหุ้นส่วน บริษัท หรือองค์การที่ดำเนินธุรกิจโดยมุ่งหาผลกำไรหรือรายได้มาแบ่งปันกัน หรือเป็นลูกจ้างของบุคคลใดก็มิได้ด้วย
........................................................................................................................................................................................
มาตรา ๑๘๐
รัฐมนตรีทั้งคณะพ้นจากตำแหน่ง เมื่อ
(๑) ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลงตามมาตรา ๑๘๒
อันนี้ สิน่าสนใจ ทำไม ไม่ปลดยกคณะไปเสียเลย เมือ่ นายกฯ พ้นแล้ว ที่เหลือ อยู่ไม่ได้ แน่จริงปลดให้หมดไปเลย ตั้ง ม 7 ไปเลย ไม่กล้าใช่ใหมล่ะ กลัวพลังประชาชน
.............................................................................................................................................................................................
มาตรา ๑๘๑
คณะรัฐมนตรีที่พ้นจากตำแหน่ง ต้องอยู่ในตำแหน่งเพื่อปฏิบัติหน้าที่ต่อไป จนกว่าคณะรัฐมนตรีที่ตั้งขึ้นใหม่จะเข้ารับหน้าที่
และ แม้ว่า นายกฯ ยิ่งลักษณ์ จะพ้นตำแหน่งแล้ว ก็ยังต้องทำหน้าที่อยู่ตามมาตรานี้ แน่นอน พ้นแล้ว ก็ยังต้องอยู่ไม่ว่าจะพ้นด้วยเหตุใด เอาสิ
เอาไงดีล่ะ อาจให้ รองนิวัฒน์ รักษาการนายกฯ สัก 2-3 วัน จนผ่านทุกเรื่องแล้ว กลับมารักษาการนายกฯ อีกก็ได้
กราบเรียนเชิญนักกฏหมาย ระดับเซียน ออกมาให้ความเห็นกัน เหมือน ท่านอุกฤษ