อ่านข่าวแผ่นดินไหวและเกิดความเสียหายแก่วัดร่องขุ่นอย่างมาก
http://www.thairath.co.th/content/420961
อยากฝากข้อความนี้ผ่านไปยัง อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และ ทุกท่านที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวัดร่องขุ่น
--- 19 ปี ในการทำงานของอาจารย์ ไม่สูญเปล่าหรอกค่ะ
จริงอยู่ -- แม้ตัวอาคารของโบสถ์และสิ่งก่อสร้างต่างๆได้รับความเสียหาย
อาจจะมากถึงขนาดทำลายโครงสร้างของตัวอาคาร และทำให้อาจต้องมีการทุบทิ้ง อย่างที่อาจารย์ได้ให้สัมภาษณ์
แต่อยากบอกอาจารย์ว่า -
เราอาจจำเป็นต้องทุบตัวอาคารสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่อาจารย์ได้เพียรพยายามสร้างมาถึง 19 ไป
และแม้มัน จะดูเหมือน 19ปี แห่งความพยายามนั้น เป็นเวลาที่สูญเปล่า
------- ไม่จริงหรอกค่ะ -------
ความเสียหายที่เกิดจาก แผ่นดินไหว -- ทำให้เราต้องซ่อม หรืออาจต้องทุบสิ่งก่อสร้างเหล่านั้นก็จริง --- แต่
ความเสียหายจากแผ่นดินไหว -- ไม่สามารถทำลาย "จิตวิญญาณ ของ วัดร่องขุ่น" ไปได้
ไม่สามารถทำลาย การปลูกฝังความรักในศิลปะ ของประชาชน ที่อาจารย์ได้ปลูกฝังมาตลอด 19 ปี นั้นไปได้
ยกตัวอย่างจากตัวดิชั้นก็ได้ค่ะ
ดิชั้น เป็นคนนึงที่ไม่มีพื้นฐานทางศิลปะเลย - ไม่มีศิลปทักษะ ไม่เคยสนใจศิลปะ ภาพวาดใดๆ มาก่อน
ภาพวาดต่างๆ แม้กระทั่ง ภาพโมนาลิซ่า ที่คนทั่วโลกมองว่า สวยงามและเลอค่ามหาศาล
ดิชั้นก็มองไม่ออกว่ามันสวยตรงไหน ???
พยายามมอง ก็มองไม่ออกว่าสวยยังไง ??? -- ก็แค่ผู้หญิงอ้วนนั่งจุมปุ๊กอมยิ้ม แค่นั้น
แต่คนไม่มีหัวศิลปะเลยอย่างดิชั้น กลับมองภาพที่อาจารย์เขียน -ว่าสวย
ไม่ใช่จู่ๆ ดิชั้นก็เกิดมีหัวศิลปะบังเกิดเข้ามาในสมองดิชั้นหรอกนะคะ
ดิชั้น ก็ยังเป็นคนที่ไม่มีทักษะศิลปะเหมือนเดิม
แต่ด้วยจากการที่ได้เห็น ถึงความศรัทธาในความมุ่งมั่นของอาจารย์- ที่มุ่งมั่นจะทำดีเพื่อบ้านเกิด
ที่มุ่งมั่นอยากทำให้ศิลปะที่ตัวเองถนัดกลายเป็น พุทธศิลป์ เพื่อ ชาติ --
ที่เหล่านี้ต่างหาก -- ที่ได้เปิดโลกทัศน์ศิลปะของดิชั้น
จนทำให้ดิชั้นสามารถมองภาพเขียน ของอาจารย์ว่า สวยได้
-----
เมื่อ 10 กว่าปีก่อน -- อาจารย์ได้ให้สัมภาษณ์ทางรายการ ทีวี ถึงสิ่งที่อาจารย์กำลังจะทำ
และต่อมา - อาจารย์ก็มาเปิดนิทรรศการภาพเขียนของอาจารย์ ที่ ธ.ไทยพานิชย์ ที่ ถนนรัชดา
และเปิดขายภาพที่ print screen ที่ทำมาจากภาพเขียนที่เป็นงานภาพ original ของอาจารย์
ดิชั้น - เป็นคนนึงที่ไปต่อแถวรอซื้อภาพของอาจารย์ -
ภาพที่ดิชั้นชอบ สวยถูกใจ ที่ดิชั้นก็ได้ซื้อมา ---- ชื่อภาพ "ทิพย์มรกต"
ด้วยเงินพันกว่าบาทของสมัย 10กว่า ปีก่อน ก็ถือได้ว่าไม่ใช่เงินน้อย (สำหรับคนฐานะปานกลางอย่างดิชั้น)
สิ่งที่ดิชั้นเขียน และ พยายามจะสื่อบอก อาจารย์ก็คือ --
19 ปี ที่อาจารย์ทำมา -- มันจะสูญเปล่าไปได้อย่างไรคะ
ตัวตึก ตัวอาคารที่อาจารย์สร้าง ต่อให้ไม่พังไปเพราะแผ่นดินไหวในวันนี้
มันก็ไม่สามารถอยู่ไปได้ ชั่วนิรันดร์อยู่ดี
แต่สิ่งหนึ่งที่อยู่คงทนกว่า และไม่มีทางที่แผ่นดินไหว หรืออะไรจะมาทำลายได้ -
ก็คือ --- "จิตวิญญาณ" ---
ที่อาจารย์ได้สร้างให้คนทั่วไป -ได้รักในงานศิลปะ
รักในงานเขียนภาพ -
รักในงาน พุทธศิลป์
และสิ่งเหล่านี้ ก็คือ อุบายโน้มน้าวให้คนที่ห่างจากพุทธศาสนา
ได้กลับเข้ามาเรียนรู้ และอยู่กับพุทธศาสนา มากยิ่งขึ้น
ใช่ค่ะ --- คำว่า --- "จิตวิญญาณ" --- ที่อาจารย์ ใช้พูดบ่อยๆเวลาให้สัมภาษณ์นั่นแหล่ะค่ะ
คือ สิ่งที่มีค่า และยิ่งใหญ่กว่า ตัวโบสถ์ ตัวอาคารต่างๆที่อาจารย์ได้สร้างขึ้นเสียอีก
เพราะสิ่งนี้ต่างหาก คือ เนื้อแท้ และ แก่น ที่อาจารย์ได้มอบให้กับประชาชนคนไทย และ พุทธศาสนิกชน
รวมทั้งการถ่ายทอดวิชาความรู้ต่างๆแขนงต่างๆ ของอาจารย์ไปยังบรรดาลูกศิษย์
มันไม่ได้พังทลายไปกับอิฐ กับปูนที่ถูกทำลายโดยแผ่นดินไหว ได้หรอกค่ะ
เพราะ 19 ปีที่ผ่านมา --อาจารย์ได้ "สร้างคน" สร้างลูกศิษย์ไว้มากมาย
คนเหล่านี้ คือ กิ่งก้านสาขา ที่จะนำ "ศิลปะ" ไปใช้ในทางที่ถูก ตามที่อาจารย์ได้สั่งสอนพวกเค้าไว้
ตราบใดที่ยังมี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" -- วัดร่องขุ่นก็จะสร้างไปเรื่อยๆ เพื่อเอา "งานศิลปะ" บูชา พุทธคุณ
แม้จะโดนแผ่นดินไหว วัดได้รับความเสียหาย
ก็จะเอา "ความเสียหายของวัด" นั่นแหล่ะ สอน พุทธศาสนิกชน ถึง ความไม่แน่แท้ ไม่จีรัง ไม่ยั่งยืนของชีวิต
และเราก็จะรวบรวมความมุ่งมั่น ความศรัทธาในพุทธศาสนา - ซ่อมแซม กอบกู้วัดขึ้นมาใหม่
ต่อให้พังอีก --- ก็รวบรวมศรัทธากอบกู้ขึ้นมาใหม่อีก
"วัดร่องขุ่น" ไม่จำเป็นต้อง เป็นวัดที่สร้างเสร็จสมบรูณ์ ในยุคของคนรุ่นเราก็ได้
เพราะความสำคัญที่แท้จริง ของ วัดร่องขุ่น -- ไม่ใช่ ความสวยงามของวัด
การสร้าง -- ตัววัด ตัวอาคาร เป็นเพียงปัจจัยภายนอก เพื่อใช้นำพาให้คนเข้าถึงพุทธศาสนา เท่านั้น
แต่การสร้างที่ยิ่งใหญ่กว่า - คือ --- การสร้าง การปลูกฝัง -- "จิตวิญญาณ"--- แก่ พุทธศาสนิกชนต่างหาก
ตราบใดที่ยังมี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์"
ตราบใด ที่ยังมี "ลูกศิษย์ ของ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์"
อีก 100 ปีข้างหน้า -- วัดก็จะสร้างไปเรื่อยๆ เพื่อให้คนชื่นชม และเกิดศรัทธาต่อพุทธศาสนาไปเรื่อยๆ
และแม้ต่อให้ไม่มี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" อยู่บนโลกนี้แล้วก็ตาม
แต่ --- "จิตวิญญาณ" ของความรักในงานพุทธศิลป์ ก็ยังคงอยู่
และดำเนินการ ผ่าน กิ่งก้านสาขาลูกศิษย์ที่อาจารย์ได้สร้างไว้นั่นเอง
--------------------------------------------------------
--- วัดร่องขุ่น --- เสียหายได้
---"เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" ตายจากโลกนี้ได้
แต่-- "จิตวิญญาณ" ของความศรัทธาใน พุทธศาสนา -ผ่านงาน พุทธศิลป์ ของอาจารย์ไม่มีวันตาย
อาจารย์อย่าท้อ จนเลิกและหยุดนะคะ ---
เพราะนี่ คือ สิ่งที่อาจารย์ต้องก้าวข้ามไปให้ได้ --
มนุษย์ทุกคนต้องพบกับ ความทุกข์ใจ ความท้อแท้ ที่เกิดขึ้น ณ.ช่วงหนึ่งของชีวิตเรากัน ทุกคน
เราต้องก้าวข้ามอุปสรรคของตนเองไปทีละขั้น เหมือนการขึ้นบันได
วันใดที่เราท้อ และหยุด -- นั่นคือ เรานั่งอมทุกข์อยู่ที่บันได ณ.ขั้นเดิม
ฉนั้น -- ท้อได้ --แต่อย่าหยุด ---ก้าวข้ามไปให้ได้ค่ะ
อาจารย์เคยสามารถก้าวข้ามอุปสรรค ความทุกข์ มาได้ตั้งหลายครั้งแล้วนี่คะ
นี่ ก็เป็นอีก 1 ขั้นบันได ของความทุกข์ ของอุปสรรค -- ที่อาจารย์ ต้องก้าวข้ามผ่านไปให้ได้
บางที -- การที่เราต้องสูญเสียคนที่เรารักมาก -
- หรือ การที่เราต้องสูญเสียวัตถุทางโลกใดๆ ที่เรารักมาก -
อาจนำพาเราไปสู่ ความจีรังทางธรรมะในจิตใจของเราก็ได้นะคะ
---------ขอเป็นกำลังใจ ให้อาจารย์และ บรรดาศิษย์ของอาจารย์ ทุกคน ค่ะ ---------
--- อ. เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ / ประเด็นการเสียหายของ วัดร่องขุ่น จากการเกิดแผ่นดินไหว ---
http://www.thairath.co.th/content/420961
อยากฝากข้อความนี้ผ่านไปยัง อ.เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์ และ ทุกท่านที่เกี่ยวข้องกับการทำงานวัดร่องขุ่น
--- 19 ปี ในการทำงานของอาจารย์ ไม่สูญเปล่าหรอกค่ะ
จริงอยู่ -- แม้ตัวอาคารของโบสถ์และสิ่งก่อสร้างต่างๆได้รับความเสียหาย
อาจจะมากถึงขนาดทำลายโครงสร้างของตัวอาคาร และทำให้อาจต้องมีการทุบทิ้ง อย่างที่อาจารย์ได้ให้สัมภาษณ์
แต่อยากบอกอาจารย์ว่า -
เราอาจจำเป็นต้องทุบตัวอาคารสิ่งก่อสร้างต่างๆ ที่อาจารย์ได้เพียรพยายามสร้างมาถึง 19 ไป
และแม้มัน จะดูเหมือน 19ปี แห่งความพยายามนั้น เป็นเวลาที่สูญเปล่า
------- ไม่จริงหรอกค่ะ -------
ความเสียหายที่เกิดจาก แผ่นดินไหว -- ทำให้เราต้องซ่อม หรืออาจต้องทุบสิ่งก่อสร้างเหล่านั้นก็จริง --- แต่
ความเสียหายจากแผ่นดินไหว -- ไม่สามารถทำลาย "จิตวิญญาณ ของ วัดร่องขุ่น" ไปได้
ไม่สามารถทำลาย การปลูกฝังความรักในศิลปะ ของประชาชน ที่อาจารย์ได้ปลูกฝังมาตลอด 19 ปี นั้นไปได้
ยกตัวอย่างจากตัวดิชั้นก็ได้ค่ะ
ดิชั้น เป็นคนนึงที่ไม่มีพื้นฐานทางศิลปะเลย - ไม่มีศิลปทักษะ ไม่เคยสนใจศิลปะ ภาพวาดใดๆ มาก่อน
ภาพวาดต่างๆ แม้กระทั่ง ภาพโมนาลิซ่า ที่คนทั่วโลกมองว่า สวยงามและเลอค่ามหาศาล
ดิชั้นก็มองไม่ออกว่ามันสวยตรงไหน ???
พยายามมอง ก็มองไม่ออกว่าสวยยังไง ??? -- ก็แค่ผู้หญิงอ้วนนั่งจุมปุ๊กอมยิ้ม แค่นั้น
แต่คนไม่มีหัวศิลปะเลยอย่างดิชั้น กลับมองภาพที่อาจารย์เขียน -ว่าสวย
ไม่ใช่จู่ๆ ดิชั้นก็เกิดมีหัวศิลปะบังเกิดเข้ามาในสมองดิชั้นหรอกนะคะ
ดิชั้น ก็ยังเป็นคนที่ไม่มีทักษะศิลปะเหมือนเดิม
แต่ด้วยจากการที่ได้เห็น ถึงความศรัทธาในความมุ่งมั่นของอาจารย์- ที่มุ่งมั่นจะทำดีเพื่อบ้านเกิด
ที่มุ่งมั่นอยากทำให้ศิลปะที่ตัวเองถนัดกลายเป็น พุทธศิลป์ เพื่อ ชาติ --
ที่เหล่านี้ต่างหาก -- ที่ได้เปิดโลกทัศน์ศิลปะของดิชั้น
จนทำให้ดิชั้นสามารถมองภาพเขียน ของอาจารย์ว่า สวยได้
-----
เมื่อ 10 กว่าปีก่อน -- อาจารย์ได้ให้สัมภาษณ์ทางรายการ ทีวี ถึงสิ่งที่อาจารย์กำลังจะทำ
และต่อมา - อาจารย์ก็มาเปิดนิทรรศการภาพเขียนของอาจารย์ ที่ ธ.ไทยพานิชย์ ที่ ถนนรัชดา
และเปิดขายภาพที่ print screen ที่ทำมาจากภาพเขียนที่เป็นงานภาพ original ของอาจารย์
ดิชั้น - เป็นคนนึงที่ไปต่อแถวรอซื้อภาพของอาจารย์ -
ภาพที่ดิชั้นชอบ สวยถูกใจ ที่ดิชั้นก็ได้ซื้อมา ---- ชื่อภาพ "ทิพย์มรกต"
ด้วยเงินพันกว่าบาทของสมัย 10กว่า ปีก่อน ก็ถือได้ว่าไม่ใช่เงินน้อย (สำหรับคนฐานะปานกลางอย่างดิชั้น)
สิ่งที่ดิชั้นเขียน และ พยายามจะสื่อบอก อาจารย์ก็คือ --
19 ปี ที่อาจารย์ทำมา -- มันจะสูญเปล่าไปได้อย่างไรคะ
ตัวตึก ตัวอาคารที่อาจารย์สร้าง ต่อให้ไม่พังไปเพราะแผ่นดินไหวในวันนี้
มันก็ไม่สามารถอยู่ไปได้ ชั่วนิรันดร์อยู่ดี
แต่สิ่งหนึ่งที่อยู่คงทนกว่า และไม่มีทางที่แผ่นดินไหว หรืออะไรจะมาทำลายได้ -
ก็คือ --- "จิตวิญญาณ" ---
ที่อาจารย์ได้สร้างให้คนทั่วไป -ได้รักในงานศิลปะ
รักในงานเขียนภาพ -
รักในงาน พุทธศิลป์
และสิ่งเหล่านี้ ก็คือ อุบายโน้มน้าวให้คนที่ห่างจากพุทธศาสนา
ได้กลับเข้ามาเรียนรู้ และอยู่กับพุทธศาสนา มากยิ่งขึ้น
ใช่ค่ะ --- คำว่า --- "จิตวิญญาณ" --- ที่อาจารย์ ใช้พูดบ่อยๆเวลาให้สัมภาษณ์นั่นแหล่ะค่ะ
คือ สิ่งที่มีค่า และยิ่งใหญ่กว่า ตัวโบสถ์ ตัวอาคารต่างๆที่อาจารย์ได้สร้างขึ้นเสียอีก
เพราะสิ่งนี้ต่างหาก คือ เนื้อแท้ และ แก่น ที่อาจารย์ได้มอบให้กับประชาชนคนไทย และ พุทธศาสนิกชน
รวมทั้งการถ่ายทอดวิชาความรู้ต่างๆแขนงต่างๆ ของอาจารย์ไปยังบรรดาลูกศิษย์
มันไม่ได้พังทลายไปกับอิฐ กับปูนที่ถูกทำลายโดยแผ่นดินไหว ได้หรอกค่ะ
เพราะ 19 ปีที่ผ่านมา --อาจารย์ได้ "สร้างคน" สร้างลูกศิษย์ไว้มากมาย
คนเหล่านี้ คือ กิ่งก้านสาขา ที่จะนำ "ศิลปะ" ไปใช้ในทางที่ถูก ตามที่อาจารย์ได้สั่งสอนพวกเค้าไว้
ตราบใดที่ยังมี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" -- วัดร่องขุ่นก็จะสร้างไปเรื่อยๆ เพื่อเอา "งานศิลปะ" บูชา พุทธคุณ
แม้จะโดนแผ่นดินไหว วัดได้รับความเสียหาย
ก็จะเอา "ความเสียหายของวัด" นั่นแหล่ะ สอน พุทธศาสนิกชน ถึง ความไม่แน่แท้ ไม่จีรัง ไม่ยั่งยืนของชีวิต
และเราก็จะรวบรวมความมุ่งมั่น ความศรัทธาในพุทธศาสนา - ซ่อมแซม กอบกู้วัดขึ้นมาใหม่
ต่อให้พังอีก --- ก็รวบรวมศรัทธากอบกู้ขึ้นมาใหม่อีก
"วัดร่องขุ่น" ไม่จำเป็นต้อง เป็นวัดที่สร้างเสร็จสมบรูณ์ ในยุคของคนรุ่นเราก็ได้
เพราะความสำคัญที่แท้จริง ของ วัดร่องขุ่น -- ไม่ใช่ ความสวยงามของวัด
การสร้าง -- ตัววัด ตัวอาคาร เป็นเพียงปัจจัยภายนอก เพื่อใช้นำพาให้คนเข้าถึงพุทธศาสนา เท่านั้น
แต่การสร้างที่ยิ่งใหญ่กว่า - คือ --- การสร้าง การปลูกฝัง -- "จิตวิญญาณ"--- แก่ พุทธศาสนิกชนต่างหาก
ตราบใดที่ยังมี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์"
ตราบใด ที่ยังมี "ลูกศิษย์ ของ เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์"
อีก 100 ปีข้างหน้า -- วัดก็จะสร้างไปเรื่อยๆ เพื่อให้คนชื่นชม และเกิดศรัทธาต่อพุทธศาสนาไปเรื่อยๆ
และแม้ต่อให้ไม่มี "เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" อยู่บนโลกนี้แล้วก็ตาม
แต่ --- "จิตวิญญาณ" ของความรักในงานพุทธศิลป์ ก็ยังคงอยู่
และดำเนินการ ผ่าน กิ่งก้านสาขาลูกศิษย์ที่อาจารย์ได้สร้างไว้นั่นเอง
--------------------------------------------------------
--- วัดร่องขุ่น --- เสียหายได้
---"เฉลิมชัย โฆษิตพิพัฒน์" ตายจากโลกนี้ได้
แต่-- "จิตวิญญาณ" ของความศรัทธาใน พุทธศาสนา -ผ่านงาน พุทธศิลป์ ของอาจารย์ไม่มีวันตาย
อาจารย์อย่าท้อ จนเลิกและหยุดนะคะ ---
เพราะนี่ คือ สิ่งที่อาจารย์ต้องก้าวข้ามไปให้ได้ --
มนุษย์ทุกคนต้องพบกับ ความทุกข์ใจ ความท้อแท้ ที่เกิดขึ้น ณ.ช่วงหนึ่งของชีวิตเรากัน ทุกคน
เราต้องก้าวข้ามอุปสรรคของตนเองไปทีละขั้น เหมือนการขึ้นบันได
วันใดที่เราท้อ และหยุด -- นั่นคือ เรานั่งอมทุกข์อยู่ที่บันได ณ.ขั้นเดิม
ฉนั้น -- ท้อได้ --แต่อย่าหยุด ---ก้าวข้ามไปให้ได้ค่ะ
อาจารย์เคยสามารถก้าวข้ามอุปสรรค ความทุกข์ มาได้ตั้งหลายครั้งแล้วนี่คะ
นี่ ก็เป็นอีก 1 ขั้นบันได ของความทุกข์ ของอุปสรรค -- ที่อาจารย์ ต้องก้าวข้ามผ่านไปให้ได้
บางที -- การที่เราต้องสูญเสียคนที่เรารักมาก -
- หรือ การที่เราต้องสูญเสียวัตถุทางโลกใดๆ ที่เรารักมาก -
อาจนำพาเราไปสู่ ความจีรังทางธรรมะในจิตใจของเราก็ได้นะคะ
---------ขอเป็นกำลังใจ ให้อาจารย์และ บรรดาศิษย์ของอาจารย์ ทุกคน ค่ะ ---------