ภาพประกอบจากเฟสบุ๊คของ สทศ. โดยเป็นคำชี้แจงจาก สทศ. เอง
จากภาพการตอบคำถามข้างบน ผมจึงมีคำถามอยากถามคำถาม สทศ. ไม่กี่ข้อดังนี้
1. สทศ. บอกว่าการทดสอบไม่มีผลต่อการสมัครงาน และสอบด้วยความสมัครใจ แต่บริษัทสามารถขอช้อมูล "จากผู้สมัครงาน" ได้ แบบนี้ไม่ใช่การบังคับให้นักศึกษาต้องสอบทางอ้อมหรือ? และถ้านักศึกษาต้องการงานงานนั้น นักศึกษาจะไม่ให้ผลสอบได้หรือ ?
2. สทศ. บอกว่า การสอบไม่ได้เป็นการสอบซ้ำซ้อนเพราะเป็นการสอบวัดความรู้ทั่วไป ไม่ใช่ความรู้เฉพาะทางด้านวิชาชีพ แล้วทำไมถึงไม่จัดสอบกับสาขาที่มีสภาวิชาชีพด้วย ?
3. ถ้าแบบทดสอบนี้ ใช้วัดมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว การจัดสอบที่ให้สอบบ้างไม่สอบบ้างตามความสมัครใจ และ การสอบยังไม่คลอบคลุมถึงสาขาที่มีสภาวิชาชีพ แล้วแบบนี้การสอบชุดนี้จะวัดอะไรได้ ? จะใช้วัดมาตรฐาน "ทั้งระบบ" ได้อย่างไร?
"ถ้าตอบ 3 คำถามนี้ได้อย่างมีวิจารณญาน และ เหตุผล ผมเชื่อว่าเด็กไทยส่วนใหญ่ยอมสอบ"
เพิ่มเติม เพื่อนๆคิดว่า ลักษณะการโพสแบบนี้ ตอบคำถามแบบนี้ เหมาะสมกับภาพลักษณ์ของการเป็นองค์กรทาการศึกษาหรือไม่
ฝากคำถามไปถึงผู้ใหญ่ ในสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ว่าด้วยเรื่อง U-NET
ภาพประกอบจากเฟสบุ๊คของ สทศ. โดยเป็นคำชี้แจงจาก สทศ. เอง
จากภาพการตอบคำถามข้างบน ผมจึงมีคำถามอยากถามคำถาม สทศ. ไม่กี่ข้อดังนี้
1. สทศ. บอกว่าการทดสอบไม่มีผลต่อการสมัครงาน และสอบด้วยความสมัครใจ แต่บริษัทสามารถขอช้อมูล "จากผู้สมัครงาน" ได้ แบบนี้ไม่ใช่การบังคับให้นักศึกษาต้องสอบทางอ้อมหรือ? และถ้านักศึกษาต้องการงานงานนั้น นักศึกษาจะไม่ให้ผลสอบได้หรือ ?
2. สทศ. บอกว่า การสอบไม่ได้เป็นการสอบซ้ำซ้อนเพราะเป็นการสอบวัดความรู้ทั่วไป ไม่ใช่ความรู้เฉพาะทางด้านวิชาชีพ แล้วทำไมถึงไม่จัดสอบกับสาขาที่มีสภาวิชาชีพด้วย ?
3. ถ้าแบบทดสอบนี้ ใช้วัดมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาแล้ว การจัดสอบที่ให้สอบบ้างไม่สอบบ้างตามความสมัครใจ และ การสอบยังไม่คลอบคลุมถึงสาขาที่มีสภาวิชาชีพ แล้วแบบนี้การสอบชุดนี้จะวัดอะไรได้ ? จะใช้วัดมาตรฐาน "ทั้งระบบ" ได้อย่างไร?
"ถ้าตอบ 3 คำถามนี้ได้อย่างมีวิจารณญาน และ เหตุผล ผมเชื่อว่าเด็กไทยส่วนใหญ่ยอมสอบ"
เพิ่มเติม เพื่อนๆคิดว่า ลักษณะการโพสแบบนี้ ตอบคำถามแบบนี้ เหมาะสมกับภาพลักษณ์ของการเป็นองค์กรทาการศึกษาหรือไม่