สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 21
ตอบตรงๆกับคำถามขอบ จขกท เลยก็..
มี 3 ตัวเลือก สมมติใช้แอร์ของมิตซูอิเล็คทริค ยี่ห้อดัง
กรณีที่ 1
แอร์มิตซู ECONO (แบบธรรมดา) ขนาด 9,000BTU (9,206.60BTU)
กินกำลังไฟ 0.74Kw
สูตรคำนวณยูนิตไฟฟ้า U = Wxnxh
U = จำนวนยูนิต
n = จำนวนอุปกรณ์
W = กำลังไฟฟ้า ,Kw
h = จำนวนที่ใช้งาน ,hr
**แอร์แบบธรรมดา
ชั่วโมงแรก ทำงานเต็มระบบ U1=0.74x1=0.74 ยูนิต
พออุณหภูมิได้ตามที่ตั้งไว้แล้ว ชั่วโมงที่สอง-สามเป็นต้นไป
คอมแอร์ตัดเข้า 5 นาที ตัดออก 8 นาที หรือทำงานแค่ 60%**
คิดตามจริงคือ U2=0.74*2*0.6=0.88 ยูนิต
ดังนั้นหากใช้งานเพียง 3 ชั่วโมง จะใช้ไฟไป U1+U2 = 1.62 ยูนิต
หรือใช้ไปเดือนละ U=1.62x30=48.6หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 1 = 48.6x3.82 = 185.65 บาท/เดือน
กรณีที่ 2
- แอร์มิตซู SUPER INVERTER (แบบอินเวอร์เตอร์) ขนาด 9,000BTU (8,656.93BTU) วิ่งเฉลี่ยที่ 3,000-10,000BTU
กินกำลังไฟ 0.2-0.64-1.04 Kw
ปรกติชั่วโมงที่ 1 จะกินไฟเฉลี่ย U1=(1.04+0.64)/2 = 0.84 ยูนิต (เร่งคอมฯเต็มกำลัง และแผ่วประมาณครึ่งชั่วโมง)
ต่อมาชั่วโมงที่ 2 รอบจะวิ่งอยู่ที่ U2 =(0.64+0.2)/2 = 0.42 ยูนิต
และเมื่ออุณหภูมิคงที่ ชั่วโมงที่ 3 กินไฟอยู่ที่ U3=0.2 ยูนิต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดังนั้นเมื่อคิดยูนิต 3 ช่วง ช่วงละชั่วโมงเดียวจะได้
U=U1+U2+U3=0.84+0.42+0.2=1.46หน่วย/วัน
หรือใช้ไปเดือนละ U=1.46x30=43.8หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 2 = 43.8x3.82 = 167.31 บาท/เดือน
กรณีที่ 3
พัดลม ทั่วไป 50W
U=0.05x3=0.15หน่วย/วัน
หรือใช้ไปเดือนละ U=0.15x30=4.5หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 3 = 4.5x3.82 = 17.19 บาท/เดือน
ความเห็นส่วนตัว ตอบ จขกท
1. พัดลมประหยัดกว่าแอร์ ประมาณ 10 เท่า
2. กรณีเปิดน้อยๆเช่น 3 ชั่วโมง แอร์ธรรมดาก็น่าสนใจเพราะค่าตัวถูกเกือบหมื่นทีเดียว
ผลของการประหยัด Inverter ไม่เห็นผลเท่าที่ควร (ผลด้านจิตใจ อุณหภูมิคงที่ไม่นับ)
เพิ่ม กรณีใช้งานแอร์มากกว่า 3 ชั่วโมง สมมติ 10 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 3-10 แอร์ 2 ระบบกินกำลังไฟต่างกัน
แอร์ธรรมดา 0.74 Kw คิด 60% คอมแอร์ทำงานได้ 0.44Kw
แอร์อินเวอร์เตอร์ อุณหภูมิคงที่แล้ว 0.2 Kw
ส่วนต่างกำลังไฟ ตั้งแต่ชั่วโมงที่ 3-10 คือ 0.44-0.2 = 0.24 Kw
จำนวนยูนิตได้ = 0.24*7 = 1.68 ยูนิต/วัน หรือ 1.68x30 = 50.4 ยูนิต/เดือน
รวมกับส่วนต่าง ชั่วโมงที่ 1 ถึง 3 ด้วย จะได้ 50.4+(48.6-43.8) = 55.2 ยูนิต/เดือน
คำนวณเป็นค่าไฟได้ 55.2 ยูนิตต่อเดือน x 3.82 บาทต่อยูนิต = 210.86 บาท/เดือน
สรุป หากคุณติดตั้งแอร์มิตซู ขนาด 9,000 BTU แบบอินเวอร์เตอร์ กับแบบอิโคโน่ธรรมดา เทียบกับ พัดลม ><'
เปิดวันละ 3 ชั่วโมง/วัน เท่ากันหมด!
ECONO = 185.65 บาท/เดือน
SUPER INVERTER = 167.31 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 18.34 บาท(9.87%)
พัดลมทั่วไป = 17.19 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 168.46บาท(90.74%)
กรณีเปิดวันละถึง 10 ชั่วโมง/วัน เท่ากันหมด
ECONO = 538.62 บาท/เดือน
SUPER INVERTER = 327.75 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 210.87 บาท(39.15%)
พัดลมทั่วไป = 57.3 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 481.32บาท(89.36%)
ทิ้งท้ายว่า INVERTER เหมาะกับการเปิดนานๆ จะประหยัดได้มากถึง 40% แบบคร่าวๆ factor มันเยอะ
เหตุการณ์จริง อาจเปิดบ้าง ปิดบ้าง แดดร้อนๆร่มๆ คนเดินเข้าออกห้อง
ประหยัดสัก 20-25% ก็หรูแล้ว บางบ้านเปิดไม่ถึง 2 ชั่วโมงก็ปิดแล้ว
มันประหยัดไม่ถึง 10% ด้วยซ้ำไป
ลองพิจารณาดูครับ
ปล. แก้คำผิดกับเพิ่มกรณี 10 ชั่วโมงให้ดูขำๆ
มี 3 ตัวเลือก สมมติใช้แอร์ของมิตซูอิเล็คทริค ยี่ห้อดัง
กรณีที่ 1
แอร์มิตซู ECONO (แบบธรรมดา) ขนาด 9,000BTU (9,206.60BTU)
กินกำลังไฟ 0.74Kw
สูตรคำนวณยูนิตไฟฟ้า U = Wxnxh
U = จำนวนยูนิต
n = จำนวนอุปกรณ์
W = กำลังไฟฟ้า ,Kw
h = จำนวนที่ใช้งาน ,hr
**แอร์แบบธรรมดา
ชั่วโมงแรก ทำงานเต็มระบบ U1=0.74x1=0.74 ยูนิต
พออุณหภูมิได้ตามที่ตั้งไว้แล้ว ชั่วโมงที่สอง-สามเป็นต้นไป
คอมแอร์ตัดเข้า 5 นาที ตัดออก 8 นาที หรือทำงานแค่ 60%**
คิดตามจริงคือ U2=0.74*2*0.6=0.88 ยูนิต
ดังนั้นหากใช้งานเพียง 3 ชั่วโมง จะใช้ไฟไป U1+U2 = 1.62 ยูนิต
หรือใช้ไปเดือนละ U=1.62x30=48.6หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 1 = 48.6x3.82 = 185.65 บาท/เดือน
กรณีที่ 2
- แอร์มิตซู SUPER INVERTER (แบบอินเวอร์เตอร์) ขนาด 9,000BTU (8,656.93BTU) วิ่งเฉลี่ยที่ 3,000-10,000BTU
กินกำลังไฟ 0.2-0.64-1.04 Kw
ปรกติชั่วโมงที่ 1 จะกินไฟเฉลี่ย U1=(1.04+0.64)/2 = 0.84 ยูนิต (เร่งคอมฯเต็มกำลัง และแผ่วประมาณครึ่งชั่วโมง)
ต่อมาชั่วโมงที่ 2 รอบจะวิ่งอยู่ที่ U2 =(0.64+0.2)/2 = 0.42 ยูนิต
และเมื่ออุณหภูมิคงที่ ชั่วโมงที่ 3 กินไฟอยู่ที่ U3=0.2 ยูนิต
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ดังนั้นเมื่อคิดยูนิต 3 ช่วง ช่วงละชั่วโมงเดียวจะได้
U=U1+U2+U3=0.84+0.42+0.2=1.46หน่วย/วัน
หรือใช้ไปเดือนละ U=1.46x30=43.8หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 2 = 43.8x3.82 = 167.31 บาท/เดือน
กรณีที่ 3
พัดลม ทั่วไป 50W
U=0.05x3=0.15หน่วย/วัน
หรือใช้ไปเดือนละ U=0.15x30=4.5หน่วย/เดือน
ค่าไฟ มค-เมษ.57 หน่วยละ 3.82 สตางค์/หน่วย
สรุปค่าไฟกรณีที่ 3 = 4.5x3.82 = 17.19 บาท/เดือน
ความเห็นส่วนตัว ตอบ จขกท
1. พัดลมประหยัดกว่าแอร์ ประมาณ 10 เท่า
2. กรณีเปิดน้อยๆเช่น 3 ชั่วโมง แอร์ธรรมดาก็น่าสนใจเพราะค่าตัวถูกเกือบหมื่นทีเดียว
ผลของการประหยัด Inverter ไม่เห็นผลเท่าที่ควร (ผลด้านจิตใจ อุณหภูมิคงที่ไม่นับ)
เพิ่ม กรณีใช้งานแอร์มากกว่า 3 ชั่วโมง สมมติ 10 ชั่วโมง
ชั่วโมงที่ 3-10 แอร์ 2 ระบบกินกำลังไฟต่างกัน
แอร์ธรรมดา 0.74 Kw คิด 60% คอมแอร์ทำงานได้ 0.44Kw
แอร์อินเวอร์เตอร์ อุณหภูมิคงที่แล้ว 0.2 Kw
ส่วนต่างกำลังไฟ ตั้งแต่ชั่วโมงที่ 3-10 คือ 0.44-0.2 = 0.24 Kw
จำนวนยูนิตได้ = 0.24*7 = 1.68 ยูนิต/วัน หรือ 1.68x30 = 50.4 ยูนิต/เดือน
รวมกับส่วนต่าง ชั่วโมงที่ 1 ถึง 3 ด้วย จะได้ 50.4+(48.6-43.8) = 55.2 ยูนิต/เดือน
คำนวณเป็นค่าไฟได้ 55.2 ยูนิตต่อเดือน x 3.82 บาทต่อยูนิต = 210.86 บาท/เดือน
สรุป หากคุณติดตั้งแอร์มิตซู ขนาด 9,000 BTU แบบอินเวอร์เตอร์ กับแบบอิโคโน่ธรรมดา เทียบกับ พัดลม ><'
เปิดวันละ 3 ชั่วโมง/วัน เท่ากันหมด!
ECONO = 185.65 บาท/เดือน
SUPER INVERTER = 167.31 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 18.34 บาท(9.87%)
พัดลมทั่วไป = 17.19 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 168.46บาท(90.74%)
กรณีเปิดวันละถึง 10 ชั่วโมง/วัน เท่ากันหมด
ECONO = 538.62 บาท/เดือน
SUPER INVERTER = 327.75 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 210.87 บาท(39.15%)
พัดลมทั่วไป = 57.3 บาท/เดือน <==ประหยัดไป 481.32บาท(89.36%)
ทิ้งท้ายว่า INVERTER เหมาะกับการเปิดนานๆ จะประหยัดได้มากถึง 40% แบบคร่าวๆ factor มันเยอะ
เหตุการณ์จริง อาจเปิดบ้าง ปิดบ้าง แดดร้อนๆร่มๆ คนเดินเข้าออกห้อง
ประหยัดสัก 20-25% ก็หรูแล้ว บางบ้านเปิดไม่ถึง 2 ชั่วโมงก็ปิดแล้ว
มันประหยัดไม่ถึง 10% ด้วยซ้ำไป
ลองพิจารณาดูครับ
ปล. แก้คำผิดกับเพิ่มกรณี 10 ชั่วโมงให้ดูขำๆ
แสดงความคิดเห็น
อยากทราบว่าแอร์กินไฟมากกว่าพัดลมมากไหมครับ
ปล. แอร์ 9000 BTU เปิดวันละ 3 ชม. จะกินไฟมากกว่าเปิดพัดลมวันละ 3 ชม. เดือนละประมาณกี่บาท