ไม่เห็นด้วยที่ สมศ.-สทศ จะจัดสอบ U-net(ไทย อังกฤษ IT คิดวิเคราะห์) แก่นักศึกษา เพราะ
1.การเรียนมหา'ลัยไม่ได้"เรียนเพื่อสอบ"เหมือนม.ปลาย แต่เรียน"เพื่อไปทำงาน" เอางบส่วนนี้ไปสนับสนุนการฝึกงาน ฝึกอบรมจะดีกว่า
2.ซ้ำซ้อน มีบางวิชามีการสอบอยู่แล้ว เช่นวิชาภาษาอังกฤษ ในการเข้าทำงานก็มี TOEIC อยู่แล้ว เป็นมาตรฐานที่ยอมรับกว่าด้วย มีการสอบเฉพาะมหาลัย TU-GET CU-TEP DPU-TEP สอบ IT ตอนป.ตรี มหา'ลัยผมก็มีสอบ
การสอบวิชาเฉพาะ(ในอนาคต)ก็ซ้ำซ้อน เพราะ บางสาขาก็มีสภาวิชาชีพเพื่อจัดสอบ(เพื่อเอาใบประกอบฯ)อยู่แล้ว เช่น แพทย์ วิศวะ เทคนิคการแพทย์ บัญชี กฎหมาย เป็นต้น นอกจากนั้นบางบริษัทก็มีข้อสอบเฉพาะเพื่อคัดครองผู้สมัครงานอยู่แล้ว
3.บางวิชาสอบไปทำไม เช่น ภาษาไทย ปกติเราใช้ภาษาไทยกันคล่องอยู่แล้ว มีใช้คำผิดบ้าง (แกล้ง)สะกดผิดบ้าง แต่ไม่ถึงกับผิดไวยากรณ์และการรู้ไวยากรณ์ภาษาไทยก็ไม่ได้มีประโยชน์กับการทำงานสักเท่าไร(ยกเว้นบางสาขา)
ในอนาคตจะมีวิชาคุณธรรมจริยธรรมอีก ข้อสอบแบบนี้ใครๆก็ทำได้ กาข้อที่ดีๆหรือข้อที่ค่านิยมของสังคมต้องการก็ได้คะแนนแล้ว
4.สอบ Critical thinking จะออกแบบข้อสอบอย่างไร ขนาด O-net ยังมีปัญหา
5.คิดว่าเป็นการสอบเพื่อประเมินมหา'ลัย ไม่มีประโยชน์กับเด็กสักเท่าไร
6.วิชาเดียวกันอาจมีรูปแบบการสอนที่แตกต่างกันในแต่ละมหลัย บางที่เน้นทฤษฎีเพื่อผลิตนักวิชาการ บางที่เน้นประยุกต์เพื่อใช้ในการทำงาน
7.เรื่องคุณภาพการสอนที่แตกต่างกัน(ในวิชาเดียวกัน) วัดจากข้อสอบที่อาจารย์ออกน่าจะง่ายกว่า มีระบบประกันคุณภาพอยู่แล้วนี่ แล้วก็หาวิธีการเพิ่มคุณภาพการสอนกันไป
8.สำหรับ ป.โท ป.เอก วัดที่คุณภาพของวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ น่าจะตรงกว่า
ผมว่าน่าจะจัดทำข้อสอบ O-net ,GAT ,PAT ให้มีคุณภาพก่อนดีกว่านะ
เหตุผลที่ไม่เห็นด้วยกับ U-net
1.การเรียนมหา'ลัยไม่ได้"เรียนเพื่อสอบ"เหมือนม.ปลาย แต่เรียน"เพื่อไปทำงาน" เอางบส่วนนี้ไปสนับสนุนการฝึกงาน ฝึกอบรมจะดีกว่า
2.ซ้ำซ้อน มีบางวิชามีการสอบอยู่แล้ว เช่นวิชาภาษาอังกฤษ ในการเข้าทำงานก็มี TOEIC อยู่แล้ว เป็นมาตรฐานที่ยอมรับกว่าด้วย มีการสอบเฉพาะมหาลัย TU-GET CU-TEP DPU-TEP สอบ IT ตอนป.ตรี มหา'ลัยผมก็มีสอบ
การสอบวิชาเฉพาะ(ในอนาคต)ก็ซ้ำซ้อน เพราะ บางสาขาก็มีสภาวิชาชีพเพื่อจัดสอบ(เพื่อเอาใบประกอบฯ)อยู่แล้ว เช่น แพทย์ วิศวะ เทคนิคการแพทย์ บัญชี กฎหมาย เป็นต้น นอกจากนั้นบางบริษัทก็มีข้อสอบเฉพาะเพื่อคัดครองผู้สมัครงานอยู่แล้ว
3.บางวิชาสอบไปทำไม เช่น ภาษาไทย ปกติเราใช้ภาษาไทยกันคล่องอยู่แล้ว มีใช้คำผิดบ้าง (แกล้ง)สะกดผิดบ้าง แต่ไม่ถึงกับผิดไวยากรณ์และการรู้ไวยากรณ์ภาษาไทยก็ไม่ได้มีประโยชน์กับการทำงานสักเท่าไร(ยกเว้นบางสาขา)
ในอนาคตจะมีวิชาคุณธรรมจริยธรรมอีก ข้อสอบแบบนี้ใครๆก็ทำได้ กาข้อที่ดีๆหรือข้อที่ค่านิยมของสังคมต้องการก็ได้คะแนนแล้ว
4.สอบ Critical thinking จะออกแบบข้อสอบอย่างไร ขนาด O-net ยังมีปัญหา
5.คิดว่าเป็นการสอบเพื่อประเมินมหา'ลัย ไม่มีประโยชน์กับเด็กสักเท่าไร
6.วิชาเดียวกันอาจมีรูปแบบการสอนที่แตกต่างกันในแต่ละมหลัย บางที่เน้นทฤษฎีเพื่อผลิตนักวิชาการ บางที่เน้นประยุกต์เพื่อใช้ในการทำงาน
7.เรื่องคุณภาพการสอนที่แตกต่างกัน(ในวิชาเดียวกัน) วัดจากข้อสอบที่อาจารย์ออกน่าจะง่ายกว่า มีระบบประกันคุณภาพอยู่แล้วนี่ แล้วก็หาวิธีการเพิ่มคุณภาพการสอนกันไป
8.สำหรับ ป.โท ป.เอก วัดที่คุณภาพของวิทยานิพนธ์หรือสารนิพนธ์ น่าจะตรงกว่า
ผมว่าน่าจะจัดทำข้อสอบ O-net ,GAT ,PAT ให้มีคุณภาพก่อนดีกว่านะ