@@@@@@@ โรงไฟฟ้าโซล่าเซลล์นี้ สร้างเสร็จและเปิดใช้ในปลายเดือน พ.ย. 2556 @@@@@@@ [/center
เครดิตบทความนี้มาจาก
http://linkadded.blogspot.com/2014/04/blog-post.html รวมสาระน่ารู้ หลากหลาย ประหยัดเงินได้
โพสที่ผ่านมา แผ่นโซล่าเซลล์ซื้อ 1 แถม 1
http://ppantip.com/topic/31766481
แท็กทำบุญ
เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะสร้างบุญบารมีให้กับ วัด , สำนักสงฆ์ , สำนักปฏิบัติธรรมต่างๆ ที่อยู่นอกเขตไฟฟ้าหลวง
http://boonnumjais.blogspot.com/2013/08/blog-post.html
แท็กเทคโนโลยี่
หัวใจการทำงานของระบบอยู่ที่โมดูลย์ของอินเวคเตอร์โนเวม สร้างขึ้นมาด้วยเทคโนโลยี่สำหรับแปลงกระแสไฟที่ได้เป็นไฟ 3 เฟสโดยที่อินพุทรับกระแสไฟไฮโวลต์ (HVDC) จากการต่อสายอนุกรมของแผ่นโซล่าเซลล์ และทำงานอัตโนมัติตามแสงแดดที่มี พร้อมทั้งสามารถตั้งย่านความถี่เฮิตได้ โปรแกรมรองรับการทำงานต่างๆของระบบไฟฟ้าร่วมกับโมดูลย์ถึง 200 โปรแกรม
แท็กอนุรักษ์พลังงาน
ระบบนี้ยังมีแบตเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ก็เป็นอนุรักษ์พลังงานได้อีกกรณีหนึ่ง หากเทียบกับในอดีตที่การผลิตไฟฟ้า ในพื้นที่ที่ห่างไกล หรือไฟฟ้าเข้าไม่ถึงต้องใช้เครื่องปั่นไฟซึ่งต้องพึ่งน้ำมันตลอดเวลา
แท็กออกแบบและสร้างบ้าน
เป็นอีกแนวทางหนึ่งสำหรับผู้เริ่มต้นที่คิดจะทำระบบไฟฟ้าโซล่าเซลล์ เพื่อไว้ใช้เองโดยที่ไม่ต้องพึ่งบริการของรัฐและตอบโจทย์การใช้ไฟฟ้าฟรีได้ หากบ้านของท่านอยู่ในเขตหรือนอกเขตการไฟฟ้าภูมิภาค
แท็กเครื่องใช้ไฟฟ้า
อุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง สามารถใช้กับอินเวคเตอร์นี้ได้โดยตรง แต่บางอย่างต้องใช้เทคนิคเข้าช่วย ลองติดตามดูเลย
จากปัญหาใหญ่ของระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของที่พักสงฆ์ คือระบบไฟฟ้า และ น้ำประปา ซึ่งขาดแคลนเนื่องจากสภาพพื้นที่ตั้งและปัจจัยอื่นๆ ในส่วนของระบบไฟฟ้าของรัฐ ซึ่งหากดำเนินการดึงสายเข้ามา ค่าใช้จ่ายตกราว 1 ล้านบาท ซึ่งคงยากและต้องใช้เวลาที่จะเป็นไปได้ ทางคณะศรัทธาบุญนำใจ จึงร่วมใจกันเป็นเจ้าภาพสามัคคี หาปัจจัยสมทบสร้างโรงไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ เพื่อที่จะได้อำนวยความสะดวกในด้านไฟฟ้าแสงสว่าง รวมถึงการสูบน้ำประปา (บ่อ)ให้แก่ คณะสงฆ์ ที่อยู่ รวมถึงทายก ทายิกา ที่เข้ามาสร้างบุญต่อเติมบารมี
ทั้งนี้ในส่วนของงบดำเนินงานจัดสร้าง นั้นมาจาก งบผ้าป่าสามัคคี กับคณะทีม อาจารย์นันท์ (ทีมติดตั้ง) รวมกันแล้ว 100,000 บาท
(nunkorat)
https://th-th.facebook.com/Dakkini
แผ่นที่เลือกใช้คือ
- อะมอฟัส sharp (ชารป์) ขนาด 60 v. 121 w. 3 A. นำมาต่ออนุกรม 6 แผ่น = 360 HVDC. เดินสายไฟเข้าโมดูลย์ของ
- อินเวคเตอร์โนเวม ชนิดรับแรงดันไฟเข้าที่ 140 - 400 VDC. (รับกระแสไฟจากแผ่นโซล่าเซลล์โดยตรง) เอาท์พุทเป็น 220 VAC. 3 Phase
จากการทดสอบประสิทธิภาพแผ่นโซล่าและโมดูลย์ หลังติตตั้งเสร็จ สามารถใช้ตู้เย็นขนาด 5.5 คิว ได้แบบสบายๆ (ดึงสายใช้กับตู้เย็น 2 เส้น) ส่วนปั๊มสูบน้ำ 1 แรงม้า 3 เฟสนั้น ช่วงมอเตอร์สตาร์ด+ภาระโหลดที่มอเตอร์ต้องสูบน้ำและดันน้ำขึ้นเขาไปหาแทงค์ที่ความสูงต่างระดับ 20 เมตร การดึงกระแสใช้มากกว่า 3 แอมป์ (ท่อดูด 1 นิ้ว ท่อจ่าย 2 นิ้ว) โมดูลย์ตัดการทำงาน เนื่องจากแอมป์ที่ได้จากแผ่นไม่พอ ทางเลือกที่ 2 จึงเกิดขึ้นระหว่างเพิ่มแผ่นโซล่าอีก 1 ชุด ( 6 แผ่น ) หรือ เพิ่มแบต
- การเพิ่มแผ่นโซล่า ปั๊มทำงานได้ อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างอื่นเช่นตู้เย็น , หลอดไฟ , พัดลม ทำงานได้แต่ได้เฉพาะกลางวัน
- การเพิ่มแบต เนื่องจากงบจำกัด จึงเลือกแบต 3 K 45 A. ต่ออนุกรมจำนวน 20 ลูก รับกระแสชารจ์จากอะมอฟัสได้ทั้งวัน และสามาถใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างอื่นได้ทั้งคืนทั้งวัน
ผังกราฟ การทำงานของระบบ
เทคนิค การต่อสายเพื่อนำไฟ 2 สาย
จากกล่องโมดูลย์ ไปใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ชนิด 220 VAC.
บทสรุปในเบื้องต้น
- มอเตอร์ปั๊มน้ำ 1 แรงม้า 3 สาย สามารถใช้งานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน
- ตู้เย็นขนาด 5.5 คิว เปิดได้ตลอด 24 ช.ม.
- พัดลม ตั้งโต๊ะ ( 78 w. ) เปิดได้ (สถิติสูงสุดคือเปิดพร้อมกัน 3 ตัว)
- เครื่องขยายเสียง ใช้ได้ดี สามารถเร่งเสียงขึ้น-ลง ปกติ
- สว่าน และ หินเจียร์ ไม่เกิน 1 แรงม้า ใช้ได้ปกติ
กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้า ต้องใช้ขนาดต่ำกว่า 500 w.
- หลอดไฟนีออน 40 w. จำนวน 30 หลอด เปิด 12 ช.ม.ทั้งคืน ได้ 20 หลอด (ในขณะที่ตู้เย็นทำงาน)
ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจ อุปกรณ์สร้างระบบ
- แผ่นโซล่า อะมอฟัสชาร์ป และ แบต 3 K ติดต่อได้ที่
โย ชาร์ป 081 926 7824
- กล่องโมดูลย์ โนเวม ติดต่อที่ บริษัทโนเวม เอนจิเนียริ่ง จำกัด
โทร.02-3319941-3
http://www.novemeng.com/index.php/en/
จขกท. ขอร่วมอนุโมทนากับคณะเจ้าภาพทุกๆท่านที่มีส่วนร่วมในการสร้างบารมีในครั้งนี้โดยทั่วกัน
หมายเหตุ จขกท. ในฐานะผู้ช่วยและผู้ประสานงานโครงการ ใช้เวลาศึกษาโซล่าเซลล์มานาน กว่าจะตัดสินใจทำ (ธรรม) เพราะการเริ่มต้นนั้นมันยาก กับทุนจัดการเพียง 100,000 บาท
----------------------------------------------------
ทั้งนี้ วิธีการทำระบบโซล่าเซลล์ให้สำเร็จ ไม่มีอยู่ในทฤษฏีกระดาษ ตรรกะคณิตศาสตร์ แต่อยู่ที่การลงมือทำ ทดสอบ ทดลอง
ขอน้อมรับความคิดเห็นทุกๆ ท่าน เพื่อที่จะนำไปพัฒนาระบบต่อไป
สร้างโรงไฟฟ้าโซล่าเซลล์ งบเพียง 100,000
ไม่ใช่ตอบแบบขอไปที เพราะบางความคิดเห็น แสดงให้รู้ว่า ได้ตอบ ไม่ใข่ ตอบได้
เครดิตภาพ : https://th-th.facebook.com/Dakkini
โพสที่ผ่านมา แผ่นโซล่าเซลล์ซื้อ 1 แถม 1 http://ppantip.com/topic/31766481
แท็กทำบุญ
เป็นแนวทางสำหรับผู้ที่จะสร้างบุญบารมีให้กับ วัด , สำนักสงฆ์ , สำนักปฏิบัติธรรมต่างๆ ที่อยู่นอกเขตไฟฟ้าหลวง
http://boonnumjais.blogspot.com/2013/08/blog-post.html
แท็กเทคโนโลยี่
หัวใจการทำงานของระบบอยู่ที่โมดูลย์ของอินเวคเตอร์โนเวม สร้างขึ้นมาด้วยเทคโนโลยี่สำหรับแปลงกระแสไฟที่ได้เป็นไฟ 3 เฟสโดยที่อินพุทรับกระแสไฟไฮโวลต์ (HVDC) จากการต่อสายอนุกรมของแผ่นโซล่าเซลล์ และทำงานอัตโนมัติตามแสงแดดที่มี พร้อมทั้งสามารถตั้งย่านความถี่เฮิตได้ โปรแกรมรองรับการทำงานต่างๆของระบบไฟฟ้าร่วมกับโมดูลย์ถึง 200 โปรแกรม
แท็กอนุรักษ์พลังงาน
ระบบนี้ยังมีแบตเข้ามาเกี่ยวข้อง แต่ก็เป็นอนุรักษ์พลังงานได้อีกกรณีหนึ่ง หากเทียบกับในอดีตที่การผลิตไฟฟ้า ในพื้นที่ที่ห่างไกล หรือไฟฟ้าเข้าไม่ถึงต้องใช้เครื่องปั่นไฟซึ่งต้องพึ่งน้ำมันตลอดเวลา
แท็กออกแบบและสร้างบ้าน
เป็นอีกแนวทางหนึ่งสำหรับผู้เริ่มต้นที่คิดจะทำระบบไฟฟ้าโซล่าเซลล์ เพื่อไว้ใช้เองโดยที่ไม่ต้องพึ่งบริการของรัฐและตอบโจทย์การใช้ไฟฟ้าฟรีได้ หากบ้านของท่านอยู่ในเขตหรือนอกเขตการไฟฟ้าภูมิภาค
แท็กเครื่องใช้ไฟฟ้า
อุปกรณ์ไฟฟ้าบางอย่าง สามารถใช้กับอินเวคเตอร์นี้ได้โดยตรง แต่บางอย่างต้องใช้เทคนิคเข้าช่วย ลองติดตามดูเลย
จากปัญหาใหญ่ของระบบสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐานของที่พักสงฆ์ คือระบบไฟฟ้า และ น้ำประปา ซึ่งขาดแคลนเนื่องจากสภาพพื้นที่ตั้งและปัจจัยอื่นๆ ในส่วนของระบบไฟฟ้าของรัฐ ซึ่งหากดำเนินการดึงสายเข้ามา ค่าใช้จ่ายตกราว 1 ล้านบาท ซึ่งคงยากและต้องใช้เวลาที่จะเป็นไปได้ ทางคณะศรัทธาบุญนำใจ จึงร่วมใจกันเป็นเจ้าภาพสามัคคี หาปัจจัยสมทบสร้างโรงไฟฟ้า ระบบโซล่าเซลล์ เพื่อที่จะได้อำนวยความสะดวกในด้านไฟฟ้าแสงสว่าง รวมถึงการสูบน้ำประปา (บ่อ)ให้แก่ คณะสงฆ์ ที่อยู่ รวมถึงทายก ทายิกา ที่เข้ามาสร้างบุญต่อเติมบารมี
ทั้งนี้ในส่วนของงบดำเนินงานจัดสร้าง นั้นมาจาก งบผ้าป่าสามัคคี กับคณะทีม อาจารย์นันท์ (ทีมติดตั้ง) รวมกันแล้ว 100,000 บาท
(nunkorat) https://th-th.facebook.com/Dakkini
แผ่นที่เลือกใช้คือ
- อะมอฟัส sharp (ชารป์) ขนาด 60 v. 121 w. 3 A. นำมาต่ออนุกรม 6 แผ่น = 360 HVDC. เดินสายไฟเข้าโมดูลย์ของ
- อินเวคเตอร์โนเวม ชนิดรับแรงดันไฟเข้าที่ 140 - 400 VDC. (รับกระแสไฟจากแผ่นโซล่าเซลล์โดยตรง) เอาท์พุทเป็น 220 VAC. 3 Phase
จากการทดสอบประสิทธิภาพแผ่นโซล่าและโมดูลย์ หลังติตตั้งเสร็จ สามารถใช้ตู้เย็นขนาด 5.5 คิว ได้แบบสบายๆ (ดึงสายใช้กับตู้เย็น 2 เส้น) ส่วนปั๊มสูบน้ำ 1 แรงม้า 3 เฟสนั้น ช่วงมอเตอร์สตาร์ด+ภาระโหลดที่มอเตอร์ต้องสูบน้ำและดันน้ำขึ้นเขาไปหาแทงค์ที่ความสูงต่างระดับ 20 เมตร การดึงกระแสใช้มากกว่า 3 แอมป์ (ท่อดูด 1 นิ้ว ท่อจ่าย 2 นิ้ว) โมดูลย์ตัดการทำงาน เนื่องจากแอมป์ที่ได้จากแผ่นไม่พอ ทางเลือกที่ 2 จึงเกิดขึ้นระหว่างเพิ่มแผ่นโซล่าอีก 1 ชุด ( 6 แผ่น ) หรือ เพิ่มแบต
- การเพิ่มแผ่นโซล่า ปั๊มทำงานได้ อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างอื่นเช่นตู้เย็น , หลอดไฟ , พัดลม ทำงานได้แต่ได้เฉพาะกลางวัน
- การเพิ่มแบต เนื่องจากงบจำกัด จึงเลือกแบต 3 K 45 A. ต่ออนุกรมจำนวน 20 ลูก รับกระแสชารจ์จากอะมอฟัสได้ทั้งวัน และสามาถใช้อุปกรณ์ไฟฟ้าอย่างอื่นได้ทั้งคืนทั้งวัน
ผังกราฟ การทำงานของระบบ
เทคนิค การต่อสายเพื่อนำไฟ 2 สาย
จากกล่องโมดูลย์ ไปใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้า ชนิด 220 VAC.
บทสรุปในเบื้องต้น
- มอเตอร์ปั๊มน้ำ 1 แรงม้า 3 สาย สามารถใช้งานได้ทั้งกลางวันและกลางคืน
- ตู้เย็นขนาด 5.5 คิว เปิดได้ตลอด 24 ช.ม.
- พัดลม ตั้งโต๊ะ ( 78 w. ) เปิดได้ (สถิติสูงสุดคือเปิดพร้อมกัน 3 ตัว)
- เครื่องขยายเสียง ใช้ได้ดี สามารถเร่งเสียงขึ้น-ลง ปกติ
- สว่าน และ หินเจียร์ ไม่เกิน 1 แรงม้า ใช้ได้ปกติ
กาต้มน้ำร้อนไฟฟ้า ต้องใช้ขนาดต่ำกว่า 500 w.
- หลอดไฟนีออน 40 w. จำนวน 30 หลอด เปิด 12 ช.ม.ทั้งคืน ได้ 20 หลอด (ในขณะที่ตู้เย็นทำงาน)
ข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับผู้ที่สนใจ อุปกรณ์สร้างระบบ
- แผ่นโซล่า อะมอฟัสชาร์ป และ แบต 3 K ติดต่อได้ที่
โย ชาร์ป 081 926 7824
- กล่องโมดูลย์ โนเวม ติดต่อที่ บริษัทโนเวม เอนจิเนียริ่ง จำกัด
โทร.02-3319941-3 http://www.novemeng.com/index.php/en/
จขกท. ขอร่วมอนุโมทนากับคณะเจ้าภาพทุกๆท่านที่มีส่วนร่วมในการสร้างบารมีในครั้งนี้โดยทั่วกัน
หมายเหตุ จขกท. ในฐานะผู้ช่วยและผู้ประสานงานโครงการ ใช้เวลาศึกษาโซล่าเซลล์มานาน กว่าจะตัดสินใจทำ (ธรรม) เพราะการเริ่มต้นนั้นมันยาก กับทุนจัดการเพียง 100,000 บาท
องค์กรหัวใจไทย https://th-th.facebook.com/Dakkini
ขอน้อมรับความคิดเห็นทุกๆ ท่าน เพื่อที่จะนำไปพัฒนาระบบต่อไป
http://www.youtube.com/watch?v=tYviFMQSuPc&feature=youtu.be