“รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า
๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign)
ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย
คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์
ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร
ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์
อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย
ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
อ่านต่อได้ที่
http://easylaw4u.blogspot.com/2011/07/blog-post_3982.html
----- “รัฏฐาธิปัตย์” คืออะไร -----
รัฏฐาธิปัตย์ หมายความว่า
๑) รัฏฐาธิปัตย์
เมื่อกล่าวถึง ปรัชญากฎหมายก็ต้องกล่าวถึง “กฎหมาย” และเมื่อกล่าวถึง กฎหมาย ก็จำเป็นต้องกล่าวถึงรัฏฐาธิปัตย์ (soverign)
ซึ่งสำนักความคิดกฎหมายฝ่ายบ้านเมืองอธิบายว่าเป็นผู้ทำให้เกิดกฎหมายดังที่ จอห์น ออสติน (John Ausyin) อธิบายว่ากฎหมาย
คือ คำสั่งคำบัญชาของรัฏฐาธิปัตย์
ความหมายของรัฏฐาธิปัตย์
สำนัก ฝ่ายกฎหมายบ้านเมืองให้ความสำคัญมากโดยอธิบายว่า รัฏฐาธิปัตย์ คือผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดิน
ส่วนจะเป็นใครก็สุดแท้แต่ว่าเป็นผู้เป็นใหญ่ในแผ่นดินหรือบ้านเมืองใด มีระบอบการปกครองอย่างไร
ถ้าเป็นในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ รัฏฐาธิปัตย์ คือ พระมหากษัตริย์
อำนาจของรัฏฐาธิปัตย์ ก็คือการมีอำนาจอธิปไตยนั่นเอง ซึ่งก่อให้เกิดผลดังนี้ คือ
๑. ผลของการมีอำนาจอธิปไตยทำให้ รัฏฐาธิปัตย์ อยู่ในฐานะสูงสุดในแผ่นดิน และไม่ต้องเชื่อฟังผู้อื่นอีก
ข้อ นี้อาจไม่ถูกต้องในเวลานี้แล้วก็เป็นได้ เพราะในระบบประชาธิปไตย รัฏฐาธิปัตย์ อาจอยู่ใต้ข้อจำกัดอำนาจบางประการ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามทฤษฎีว่าอำนาจอธิปไตยเป็นของประชาชนนั้น เมื่อประชาชนแต่ละคนเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย
ประชาชนแต่ละคนย่อมเป็น รัฏฐาธิปัตย์ แต่ไม่มีประชาชนคนใดอยู่ในฐานะสูงสุดโดยไม่ต้องฟังคำสั่งผู้อื่น
อ่านต่อได้ที่ http://easylaw4u.blogspot.com/2011/07/blog-post_3982.html