01 เมษายน 2557 กสทช.ประวิทย์ ระบุ กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# เป็นหมายเลขในการยกเลิกบริการรับฝากข้อความ และข้อเท็จจริงคือ##002# นั้นเป็นรหัสสากลมาตรฐานของระบบ GSM (หากต้องการยกเลิกติดต่อผู้ให้บริการดีกว่า )
ประเด็นหลัก
นายประวิทย์ลี่สถาพรวงศา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ หรือ “หมอลี่”เปิดเผยถึงกรณีการแพร่สะพัดของข้อความดังกล่าวว่าไม่ทราบว่ามีต้นตอมาจากที่ใด แต่จากการตรวจสอบแล้วไม่พบว่า สำนักงาน กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# เป็นหมายเลขในการยกเลิกบริการรับฝากข้อความ และข้อเท็จจริงคือ##002# นั้นเป็นรหัสสากลมาตรฐานของระบบ GSM ที่ใช้ในการยกเลิกบริการโอนสายทุกประเภท(Divert All) ซึ่งบริการรับฝากข้อความก็มีการทำงานในลักษณะการโอนสายเช่นกัน
อย่างไรก็ตามผลในทางปฏิบัติจริงปรากฏว่า เมื่อกด ##002# แล้วบางเครือข่ายก็สามารถยกเลิกบริการได้จริง แต่บางเครือข่ายใช้ไม่ได้ผลและมีเครือข่ายหนึ่งที่ส่งผลให้เป็นการยกเลิกบริการรับฝากข้อความแล้วเปลี่ยนไปเป็นบริการฝากหมายเลขโทรกลับ(Call Back service) แทน ซึ่งหากปลายสายปิดโทรศัพท์มือถือหรืออยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ ระบบก็จะโอนสายไปยังบริการฝากหมายเลขโทรกลับทำให้ผู้โทรหายังคงต้องเสียเงินให้กับค่ายมือถือนั้นอยู่ดี
“ในสมัยก่อนที่คนใช้โทรศัพท์บ้านเวลาที่มีคนโทรศัพท์เข้ามาแล้วเราไม่ได้รับสาย หากไม่มีระบบรับฝากข้อความเราก็จะไม่รู้ว่าเป็นใครโทรมาแต่ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือมีการโชว์หมายเลขของผู้ที่โทรเข้ามาแม้เราจะไม่ได้รับสายแสดงเป็น missed call บริการรับฝากข้อความจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานมือถือทั่วไปยกเว้นคนที่มีความจำเป็นต้องปิดเครื่องไว้หรือไม่สามารถรับสายได้แต่ไม่อยากพลาดการติดต่อจากผู้อื่นบริการรับฝากข้อความสำหรับโทรศัพท์มือถือจึงควรเป็นบริการที่ผู้บริโภคสมัครใจเปิดใช้ด้วยตนเองแต่ในปัจจุบันบริการนี้กลายเป็นบริการพื้นฐานที่มาพร้อมกับการเปิดใช้บริการโทรศัพท์มือถือของแต่ละค่ายโดยอัตโนมัตินี่คือประเด็นปัญหาพื้นฐานของเรื่องนี้” นายประวิทย์กล่าวสรุปก่อนจะให้คำแนะนำต่อไปว่า
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/227157/%E0%B8%81%E0%B8%94+%23%23002%23+%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2
______________________________________
?กด ##002# เลิกบริการตอบรับอัตโนมัติ ได้ผลแค่บางค่าย?
กรณีมีข้อความแพร่สะพัดในโลกเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ระบุให้กด ##002# แล้วโทรออกเพื่อยกเลิกบริการตอบรับอัตโนมัติและรับฝากข้อความ หรือ Voice Mail ใช้ได้ผลเพียงบางค่าย แนะให้โทรยกเลิกกับ คอลเซ็นเตอร์
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมามีการส่งข้อความต่อๆ กันผ่านทาง LINE และ Facebook สร้างความสับสนให้กับผู้บริโภคเกี่ยวกับการยกเลิกบริการรับฝากข้อความหรือVoice Mail โดยข้อความดังกล่าวเป็นข้อความเตือนภัยผู้ใช้โทรศัพท์มือถือว่าอาจเสียเงินโดยไม่ได้ตั้งใจในกรณีที่เมื่อโทรออกและมีเสียงเรียกสักระยะหนึ่งแล้วปลายทางไม่รับสาย ระบบก็จะตัดเข้าสู่บริการรับฝากข้อความซึ่งทำให้ผู้โทรต้องเสียค่าบริการในทันที และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาข้อความดังกล่าวระบุว่ามีเจ้าหน้าที่ กสทช. แนะนำให้กด ##002# แล้วโทรออกก็จะสามารถยกเลิกบริการรับฝากข้อความที่ว่านี้ได้
นายประวิทย์ลี่สถาพรวงศา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ หรือ “หมอลี่”เปิดเผยถึงกรณีการแพร่สะพัดของข้อความดังกล่าวว่าไม่ทราบว่ามีต้นตอมาจากที่ใด แต่จากการตรวจสอบแล้วไม่พบว่า สำนักงาน กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# เป็นหมายเลขในการยกเลิกบริการรับฝากข้อความ และข้อเท็จจริงคือ##002# นั้นเป็นรหัสสากลมาตรฐานของระบบ GSM ที่ใช้ในการยกเลิกบริการโอนสายทุกประเภท(Divert All) ซึ่งบริการรับฝากข้อความก็มีการทำงานในลักษณะการโอนสายเช่นกัน
อย่างไรก็ตามผลในทางปฏิบัติจริงปรากฏว่า เมื่อกด ##002# แล้วบางเครือข่ายก็สามารถยกเลิกบริการได้จริง แต่บางเครือข่ายใช้ไม่ได้ผลและมีเครือข่ายหนึ่งที่ส่งผลให้เป็นการยกเลิกบริการรับฝากข้อความแล้วเปลี่ยนไปเป็นบริการฝากหมายเลขโทรกลับ(Call Back service) แทน ซึ่งหากปลายสายปิดโทรศัพท์มือถือหรืออยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ ระบบก็จะโอนสายไปยังบริการฝากหมายเลขโทรกลับทำให้ผู้โทรหายังคงต้องเสียเงินให้กับค่ายมือถือนั้นอยู่ดี
“ในสมัยก่อนที่คนใช้โทรศัพท์บ้านเวลาที่มีคนโทรศัพท์เข้ามาแล้วเราไม่ได้รับสาย หากไม่มีระบบรับฝากข้อความเราก็จะไม่รู้ว่าเป็นใครโทรมาแต่ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือมีการโชว์หมายเลขของผู้ที่โทรเข้ามาแม้เราจะไม่ได้รับสายแสดงเป็น missed call บริการรับฝากข้อความจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานมือถือทั่วไปยกเว้นคนที่มีความจำเป็นต้องปิดเครื่องไว้หรือไม่สามารถรับสายได้แต่ไม่อยากพลาดการติดต่อจากผู้อื่นบริการรับฝากข้อความสำหรับโทรศัพท์มือถือจึงควรเป็นบริการที่ผู้บริโภคสมัครใจเปิดใช้ด้วยตนเองแต่ในปัจจุบันบริการนี้กลายเป็นบริการพื้นฐานที่มาพร้อมกับการเปิดใช้บริการโทรศัพท์มือถือของแต่ละค่ายโดยอัตโนมัตินี่คือประเด็นปัญหาพื้นฐานของเรื่องนี้” นายประวิทย์กล่าวสรุปก่อนจะให้คำแนะนำต่อไปว่า
“สำหรับผู้บริโภคที่เห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องใช้บริการรับฝากข้อความก็สามารถบอกเลิกได้ทันทีแต่เนื่องจากแต่ละค่ายกำหนดหมายเลขในการยกเลิกไว้แตกต่างกันดังนั้นวิธีการที่ง่ายคือโทรไปที่ Call Center แล้วแจ้งยกเลิก”
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/227157/%E0%B8%81%E0%B8%94+%23%23002%23+%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2
กสทช.ประวิทย์ ระบุ กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# ยกเลิกบริการรับฝากข้อความ (หากต้องการยกเลิกติดต่อผู้ให้บริการดีกว่า)
ประเด็นหลัก
นายประวิทย์ลี่สถาพรวงศา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ หรือ “หมอลี่”เปิดเผยถึงกรณีการแพร่สะพัดของข้อความดังกล่าวว่าไม่ทราบว่ามีต้นตอมาจากที่ใด แต่จากการตรวจสอบแล้วไม่พบว่า สำนักงาน กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# เป็นหมายเลขในการยกเลิกบริการรับฝากข้อความ และข้อเท็จจริงคือ##002# นั้นเป็นรหัสสากลมาตรฐานของระบบ GSM ที่ใช้ในการยกเลิกบริการโอนสายทุกประเภท(Divert All) ซึ่งบริการรับฝากข้อความก็มีการทำงานในลักษณะการโอนสายเช่นกัน
อย่างไรก็ตามผลในทางปฏิบัติจริงปรากฏว่า เมื่อกด ##002# แล้วบางเครือข่ายก็สามารถยกเลิกบริการได้จริง แต่บางเครือข่ายใช้ไม่ได้ผลและมีเครือข่ายหนึ่งที่ส่งผลให้เป็นการยกเลิกบริการรับฝากข้อความแล้วเปลี่ยนไปเป็นบริการฝากหมายเลขโทรกลับ(Call Back service) แทน ซึ่งหากปลายสายปิดโทรศัพท์มือถือหรืออยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ ระบบก็จะโอนสายไปยังบริการฝากหมายเลขโทรกลับทำให้ผู้โทรหายังคงต้องเสียเงินให้กับค่ายมือถือนั้นอยู่ดี
“ในสมัยก่อนที่คนใช้โทรศัพท์บ้านเวลาที่มีคนโทรศัพท์เข้ามาแล้วเราไม่ได้รับสาย หากไม่มีระบบรับฝากข้อความเราก็จะไม่รู้ว่าเป็นใครโทรมาแต่ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือมีการโชว์หมายเลขของผู้ที่โทรเข้ามาแม้เราจะไม่ได้รับสายแสดงเป็น missed call บริการรับฝากข้อความจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานมือถือทั่วไปยกเว้นคนที่มีความจำเป็นต้องปิดเครื่องไว้หรือไม่สามารถรับสายได้แต่ไม่อยากพลาดการติดต่อจากผู้อื่นบริการรับฝากข้อความสำหรับโทรศัพท์มือถือจึงควรเป็นบริการที่ผู้บริโภคสมัครใจเปิดใช้ด้วยตนเองแต่ในปัจจุบันบริการนี้กลายเป็นบริการพื้นฐานที่มาพร้อมกับการเปิดใช้บริการโทรศัพท์มือถือของแต่ละค่ายโดยอัตโนมัตินี่คือประเด็นปัญหาพื้นฐานของเรื่องนี้” นายประวิทย์กล่าวสรุปก่อนจะให้คำแนะนำต่อไปว่า
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/227157/%E0%B8%81%E0%B8%94+%23%23002%23+%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2
______________________________________
?กด ##002# เลิกบริการตอบรับอัตโนมัติ ได้ผลแค่บางค่าย?
กรณีมีข้อความแพร่สะพัดในโลกเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ระบุให้กด ##002# แล้วโทรออกเพื่อยกเลิกบริการตอบรับอัตโนมัติและรับฝากข้อความ หรือ Voice Mail ใช้ได้ผลเพียงบางค่าย แนะให้โทรยกเลิกกับ คอลเซ็นเตอร์
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมามีการส่งข้อความต่อๆ กันผ่านทาง LINE และ Facebook สร้างความสับสนให้กับผู้บริโภคเกี่ยวกับการยกเลิกบริการรับฝากข้อความหรือVoice Mail โดยข้อความดังกล่าวเป็นข้อความเตือนภัยผู้ใช้โทรศัพท์มือถือว่าอาจเสียเงินโดยไม่ได้ตั้งใจในกรณีที่เมื่อโทรออกและมีเสียงเรียกสักระยะหนึ่งแล้วปลายทางไม่รับสาย ระบบก็จะตัดเข้าสู่บริการรับฝากข้อความซึ่งทำให้ผู้โทรต้องเสียค่าบริการในทันที และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาข้อความดังกล่าวระบุว่ามีเจ้าหน้าที่ กสทช. แนะนำให้กด ##002# แล้วโทรออกก็จะสามารถยกเลิกบริการรับฝากข้อความที่ว่านี้ได้
นายประวิทย์ลี่สถาพรวงศา กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กสทช.) ด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการส่งเสริมสิทธิเสรีภาพ หรือ “หมอลี่”เปิดเผยถึงกรณีการแพร่สะพัดของข้อความดังกล่าวว่าไม่ทราบว่ามีต้นตอมาจากที่ใด แต่จากการตรวจสอบแล้วไม่พบว่า สำนักงาน กสทช.ได้เคยมีการประกาศให้ ##002# เป็นหมายเลขในการยกเลิกบริการรับฝากข้อความ และข้อเท็จจริงคือ##002# นั้นเป็นรหัสสากลมาตรฐานของระบบ GSM ที่ใช้ในการยกเลิกบริการโอนสายทุกประเภท(Divert All) ซึ่งบริการรับฝากข้อความก็มีการทำงานในลักษณะการโอนสายเช่นกัน
อย่างไรก็ตามผลในทางปฏิบัติจริงปรากฏว่า เมื่อกด ##002# แล้วบางเครือข่ายก็สามารถยกเลิกบริการได้จริง แต่บางเครือข่ายใช้ไม่ได้ผลและมีเครือข่ายหนึ่งที่ส่งผลให้เป็นการยกเลิกบริการรับฝากข้อความแล้วเปลี่ยนไปเป็นบริการฝากหมายเลขโทรกลับ(Call Back service) แทน ซึ่งหากปลายสายปิดโทรศัพท์มือถือหรืออยู่ในที่ที่ไม่มีสัญญาณ ระบบก็จะโอนสายไปยังบริการฝากหมายเลขโทรกลับทำให้ผู้โทรหายังคงต้องเสียเงินให้กับค่ายมือถือนั้นอยู่ดี
“ในสมัยก่อนที่คนใช้โทรศัพท์บ้านเวลาที่มีคนโทรศัพท์เข้ามาแล้วเราไม่ได้รับสาย หากไม่มีระบบรับฝากข้อความเราก็จะไม่รู้ว่าเป็นใครโทรมาแต่ปัจจุบันโทรศัพท์มือถือมีการโชว์หมายเลขของผู้ที่โทรเข้ามาแม้เราจะไม่ได้รับสายแสดงเป็น missed call บริการรับฝากข้อความจึงไม่มีความจำเป็นสำหรับการใช้งานมือถือทั่วไปยกเว้นคนที่มีความจำเป็นต้องปิดเครื่องไว้หรือไม่สามารถรับสายได้แต่ไม่อยากพลาดการติดต่อจากผู้อื่นบริการรับฝากข้อความสำหรับโทรศัพท์มือถือจึงควรเป็นบริการที่ผู้บริโภคสมัครใจเปิดใช้ด้วยตนเองแต่ในปัจจุบันบริการนี้กลายเป็นบริการพื้นฐานที่มาพร้อมกับการเปิดใช้บริการโทรศัพท์มือถือของแต่ละค่ายโดยอัตโนมัตินี่คือประเด็นปัญหาพื้นฐานของเรื่องนี้” นายประวิทย์กล่าวสรุปก่อนจะให้คำแนะนำต่อไปว่า
“สำหรับผู้บริโภคที่เห็นว่าไม่มีความจำเป็นต้องใช้บริการรับฝากข้อความก็สามารถบอกเลิกได้ทันทีแต่เนื่องจากแต่ละค่ายกำหนดหมายเลขในการยกเลิกไว้แตกต่างกันดังนั้นวิธีการที่ง่ายคือโทรไปที่ Call Center แล้วแจ้งยกเลิก”
http://www.dailynews.co.th/Content/IT/227157/%E0%B8%81%E0%B8%94+%23%23002%23+%E0%B9%80%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B9%82%E0%B8%99%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4+%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2