โครงการ Global Precipitation Measurement (GPM) เป็นความร่วมมือของ National Aeronautics and Space Administration (NASA) และ Japan Aerospace Exploration Agency (JAXA) ส่งขึ้นสู่วงโคจรเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในการพยาการณ์สภาพอากาศ และศึกษาเกี่ยววัฏจักรของน้ำ
รูปแสดงปริมาณฝนที่ตกลงมา ขณะเกิดพายุไซโคลนบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้ญี่ปุ่น ในวันที่ 10 มีนาคม 2557
โดยภาพตัดในแนวตั้งแสดงปริมาณฝนที่ตกและความสูงที่มีฝนตก โดยข้อมูลถูกเก็บโดยเครื่องมือวัด 2 ชนิด ได้แก่
- Dual-frequency Precipitation Radar (DPR) โดย JAXA
- GPM Microwave Imager (GMI) โดย NASA
โดยจะเปิดให้หน่วยงานต่างๆเเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีในเดือนกันยายน ทำให้แนวโน้มการพยาการณ์อากาศในอนาคตจะแม่นยำมากยิ่งขึ้น
ในประเทศญี่ปุ่นมีการโปรโมทโครงการนี้โดยการใช้อนิเมะ เพื่อให้ประชาชนรวมไปถึงเด็กๆเข้าใจถึงความสำคัญและประโยชน์ของโครงการนี้
เรียบเรียงข้อมูลจาก
http://www.jaxa.jp/projects/sat/gpm/index_e.html
http://www.nasa.gov/press/2014/march/first-images-available-from-nasa-jaxa-global-rain-and-snowfall-satellite/
ภาพแรกที่มีการเปิดเผยของโครงการ Global Precipitation Measurement (GPM) โดย JAXA/NASA
รูปแสดงปริมาณฝนที่ตกลงมา ขณะเกิดพายุไซโคลนบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกใกล้ญี่ปุ่น ในวันที่ 10 มีนาคม 2557
โดยภาพตัดในแนวตั้งแสดงปริมาณฝนที่ตกและความสูงที่มีฝนตก โดยข้อมูลถูกเก็บโดยเครื่องมือวัด 2 ชนิด ได้แก่
- Dual-frequency Precipitation Radar (DPR) โดย JAXA
- GPM Microwave Imager (GMI) โดย NASA
โดยจะเปิดให้หน่วยงานต่างๆเเข้าถึงข้อมูลได้ฟรีในเดือนกันยายน ทำให้แนวโน้มการพยาการณ์อากาศในอนาคตจะแม่นยำมากยิ่งขึ้น
ในประเทศญี่ปุ่นมีการโปรโมทโครงการนี้โดยการใช้อนิเมะ เพื่อให้ประชาชนรวมไปถึงเด็กๆเข้าใจถึงความสำคัญและประโยชน์ของโครงการนี้
เรียบเรียงข้อมูลจาก
http://www.jaxa.jp/projects/sat/gpm/index_e.html
http://www.nasa.gov/press/2014/march/first-images-available-from-nasa-jaxa-global-rain-and-snowfall-satellite/