คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 18
การช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤติทางอากาศยาน ริเริ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2552 โดยความร่วมมือระหว่างสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) กับหน่วยงานที่ลงนามความร่วมมือและทำข้อตกลงกัน อาทิ กระทรวงสาธารณสุข กองทัพบก กองทัพเรือ กองทัพอากาศ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โรงพยาบาลกรุงเทพ บริษัทกานต์นิธิเอวิเอชั่น ฯลฯ
การให้บริการนี้ถือเป็นการเพิ่มโอกาสในระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ทุรกันดาร พื้นที่ห่างไกล พื้นที่เกาะ พื้นที่ประสบภัย หรือพื้นที่ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยพาหนะปกติ โดยปัจจุบันมีอากาศยาน ที่ใช้ในการปฏิบัติการฉุกเฉินประมาณ 100 ลำ
ที่ผ่านมาสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) มุ่งเน้นพัฒนาการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง โดย ได้ร่วมมือกับส ถ า บัน เ ว ช ศ า ส ต ร์ ก า ร บิ น กองทัพ อากาศ จัดอบรมหลักสูตรลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ เบื้องต้น ต่อเนื่องเรื่อยมา ปัจจุบันมีผู้ผ่านการอบรมแล้ว จำนวน 12 รุ่น กว่า 432 คน ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังดำเนินการพัฒนาระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศยาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศประกอบด้วยทีมแพทย์-พยาบาลฉุกเฉิน ซึ่งจะทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสามารถให้การดูแลผู้ป่วยวิกฤติและฉุกเฉินบนอากาศยานได้อย่างปลอดภัย
5 REGIONS 6 CENTER
เพื่อความครอบคลุม จึงได้พัฒนาขยายระบบ และพัฒนาจุดศูนย์กลางในแต่ละภูมิภาค เป็น 5 REGIONS6CENTER
• ภาคเหนือ : เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นครราชสีมา
• ภาคกลาง : กรุงเทพมหานคร
• ภาคใต้ตอนบน : สุราษฏร์ธานี
• ภาคใต้ตอนล่าง : ปัตตานี
สถิติการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศยาน
- มีการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินตั้งแต่ริเริ่มโครงการ รวม 127 ราย
- ในช่วงสาธารณภัย มีการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉิน รวม 155 เที่ยว 475 ราย
ทั้งนี้ส่วนใหญ่ในภาวะปกติ การลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินจะใช้ลำเลียงในพื้นที่ จ.แม่ฮ่องสอน เนื่องจากการเดินทางทางรถยนต์จะใช้เวลานาน
การให้บริการนี้ถือเป็นการเพิ่มโอกาสในระบบการแพทย์ฉุกเฉินโดยเฉพาะในเขตพื้นที่ทุรกันดาร พื้นที่ห่างไกล พื้นที่เกาะ พื้นที่ประสบภัย หรือพื้นที่ที่ไม่สามารถเคลื่อนย้ายผู้ป่วยด้วยพาหนะปกติ โดยปัจจุบันมีอากาศยาน ที่ใช้ในการปฏิบัติการฉุกเฉินประมาณ 100 ลำ
ที่ผ่านมาสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) มุ่งเน้นพัฒนาการปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง โดย ได้ร่วมมือกับส ถ า บัน เ ว ช ศ า ส ต ร์ ก า ร บิ น กองทัพ อากาศ จัดอบรมหลักสูตรลำเลียงผู้ป่วยทางอากาศ เบื้องต้น ต่อเนื่องเรื่อยมา ปัจจุบันมีผู้ผ่านการอบรมแล้ว จำนวน 12 รุ่น กว่า 432 คน ทั่วประเทศ นอกจากนี้ยังดำเนินการพัฒนาระบบปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศยาน เพื่อเพิ่มศักยภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินทางอากาศประกอบด้วยทีมแพทย์-พยาบาลฉุกเฉิน ซึ่งจะทำให้การปฏิบัติงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสามารถให้การดูแลผู้ป่วยวิกฤติและฉุกเฉินบนอากาศยานได้อย่างปลอดภัย
5 REGIONS 6 CENTER
เพื่อความครอบคลุม จึงได้พัฒนาขยายระบบ และพัฒนาจุดศูนย์กลางในแต่ละภูมิภาค เป็น 5 REGIONS6CENTER
• ภาคเหนือ : เชียงใหม่ เชียงราย แม่ฮ่องสอน
• ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ : นครราชสีมา
• ภาคกลาง : กรุงเทพมหานคร
• ภาคใต้ตอนบน : สุราษฏร์ธานี
• ภาคใต้ตอนล่าง : ปัตตานี
สถิติการปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉินทางอากาศยาน
- มีการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินตั้งแต่ริเริ่มโครงการ รวม 127 ราย
- ในช่วงสาธารณภัย มีการลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉิน รวม 155 เที่ยว 475 ราย
ทั้งนี้ส่วนใหญ่ในภาวะปกติ การลำเลียงผู้ป่วยฉุกเฉินจะใช้ลำเลียงในพื้นที่ จ.แม่ฮ่องสอน เนื่องจากการเดินทางทางรถยนต์จะใช้เวลานาน
แสดงความคิดเห็น
ประชาชนคนธรรมดาถ้าเกิดอุบัติเหตุรถคว่ำนี่เคยมีเฮลิคอปเตอร์บินไปรับตัวบ้างไหมครับ?
http://www.manager.co.th/CelebOnline/ViewNews.aspx?NewsID=9570000020970
ขอให้หายไวๆครับ