อยากได้เฉลยของข้อสอบชุดนี้อ่า
หาได้จากที่ไหนคะ ?
เรื่อง กรดแก่ กรดอ่อน เบสแก่ และเบสอ่อน
ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดจากคำถามแต่ละข้อ
1. สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน สารใดจะแตกตัวให้ H3O+ มากที่สุด
1. H3PO4
2. H2SO4
3. H2CO3
4. HCl
2. สารละลายในข้อใดไม่มีสมดุล
1. สารละลาย NH3
2. สารละลาย KCN
3. สารละลาย NaHS
4. สารละลาย KOH
3. สารละลายที่มี KOH อยู่ 5.6 กรัม ในปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- กี่โมล
ต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (H = 1, O = 16, K = 39)
1. 0.01
2. 0.1
3. 0.2
4. 1
คำชี้แจง จงใช้ค่า Ka ที่กำหนดให้ประกอบการตอบคำถามข้อ 4-5
HCN+ H2O <===> H3O+ + CN- Ka = 8 x 10-10
HSO4- + H2O <===> H3O+ + SO42- Ka = 1.2 x 10-2
HCOOH + H2O <===> H3O+ + HCOO- Ka = 1.8 x 10-4
4. ข้อใดเรียงลำดับความแรงของกรดจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
1. HSO4- > HCN > HCOOH
2. HCN > HCOO- > HSO4-
3. HSO4- > HCOOH > HCN
4. HCOO- > HSO4- > HCN
5. ข้อใดเรียงลำดับความแรงของเบสจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
1. CN- > SO42- > HCOO-
2. CN- > HCOO- > SO42-
3. SO42- > HCOO- > CN-
4. HCOO- > CN- > SO42-
เรื่อง กรดอ่อน-เบสอ่อน และค่าคงที่สมดุล
ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. กรดไนตรัส (HNO2) มีค่า Ka เท่ากับ 4.5 x 10-4 สมดุลของ HNO2 ในน้ำ
1) เขียนสมการได้ดัง นี้ .........
2) ค่าคงที่สมดุล (Ka) = .........
2. กรดคาร์บอนิก (H2CO3) มีค่า Ka1 เท่ากับ 4.4 x 10-7 และ Ka2 เท่ากับ 5 x 10-11
1) สมดุลของกรดคาร์บอนิกในน้ำ เขียนสมการได้ดังนี้......... ค่า Ka1 = .........
ค่า Ka2 = .........
2) เมื่อเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของกรด HNO2 กับ H2CO3 ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน
พบว่า ......... เพราะ .........
3) เมื่อเปรียบเทียบความแรงของคู่เบส NO-2 กับ HCO3- แล้วพบว่า.........เพราะ .........
3. กำหนดค่าคงที่สมดุลของ CN- เท่ากับ 1.6 x 10-5 และ F- เท่ากับ 1.5 x 10-11
1) จงเขียนสมการแสดงสมดุลของ CN- และ F- ในน้ำ
.........
.........
2) จงเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของเบส CN- และ F-
.........
3) จงเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของคู่กรด HCN กับ HF
.........
4. กำหนดสมการให้ดังนี้
CH3COO-(aq) + H2O(l) <===> CH3COO-(aq) + OH-(aq) Kb = 5.7x 10-10
CO32- (aq) + H2O(l) <===> HCO3- (aq) + OH-(aq) Kb = 2.1x 10-4
ถ้าสารละลาย CH3COO- และ CO32-เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร เท่ากัน ในระบบจะมีไอออน
ชนิดใดมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
.........
สารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเติมน้ำลงไป จนมีปริมาตร 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นของ H3O+ ไอออนเท่าใด
.........
6. สารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- ไอออนเท่าใด
.........
7. สารละลาย HA เข้มข้น 0.1 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร แตกตัวได้ร้อยละ 5
1) จงหาความเข้มข้นของ H3O+
.........
2) จงหาค่า Ka ของ HA
.........
8. สารละลาย KF เข้มข้น 0.6 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- ไอออนเท่าใด กำหนด
Kb ของ F- เท่ากับ 1.5x 10-11
.........
[เคมี] อยากได้เฉลยค่ะ
หาได้จากที่ไหนคะ ?
เรื่อง กรดแก่ กรดอ่อน เบสแก่ และเบสอ่อน
ตอนที่ 1 จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องที่สุดจากคำถามแต่ละข้อ
1. สารละลายที่มีความเข้มข้นเท่ากัน สารใดจะแตกตัวให้ H3O+ มากที่สุด
1. H3PO4
2. H2SO4
3. H2CO3
4. HCl
2. สารละลายในข้อใดไม่มีสมดุล
1. สารละลาย NH3
2. สารละลาย KCN
3. สารละลาย NaHS
4. สารละลาย KOH
3. สารละลายที่มี KOH อยู่ 5.6 กรัม ในปริมาตร 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- กี่โมล
ต่อลูกบาศก์เดซิเมตร (H = 1, O = 16, K = 39)
1. 0.01
2. 0.1
3. 0.2
4. 1
คำชี้แจง จงใช้ค่า Ka ที่กำหนดให้ประกอบการตอบคำถามข้อ 4-5
HCN+ H2O <===> H3O+ + CN- Ka = 8 x 10-10
HSO4- + H2O <===> H3O+ + SO42- Ka = 1.2 x 10-2
HCOOH + H2O <===> H3O+ + HCOO- Ka = 1.8 x 10-4
4. ข้อใดเรียงลำดับความแรงของกรดจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
1. HSO4- > HCN > HCOOH
2. HCN > HCOO- > HSO4-
3. HSO4- > HCOOH > HCN
4. HCOO- > HSO4- > HCN
5. ข้อใดเรียงลำดับความแรงของเบสจากมากไปหาน้อยได้ถูกต้อง
1. CN- > SO42- > HCOO-
2. CN- > HCOO- > SO42-
3. SO42- > HCOO- > CN-
4. HCOO- > CN- > SO42-
เรื่อง กรดอ่อน-เบสอ่อน และค่าคงที่สมดุล
ตอนที่ 2 จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. กรดไนตรัส (HNO2) มีค่า Ka เท่ากับ 4.5 x 10-4 สมดุลของ HNO2 ในน้ำ
1) เขียนสมการได้ดัง นี้ .........
2) ค่าคงที่สมดุล (Ka) = .........
2. กรดคาร์บอนิก (H2CO3) มีค่า Ka1 เท่ากับ 4.4 x 10-7 และ Ka2 เท่ากับ 5 x 10-11
1) สมดุลของกรดคาร์บอนิกในน้ำ เขียนสมการได้ดังนี้......... ค่า Ka1 = .........
ค่า Ka2 = .........
2) เมื่อเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของกรด HNO2 กับ H2CO3 ที่มีความเข้มข้นเท่ากัน
พบว่า ......... เพราะ .........
3) เมื่อเปรียบเทียบความแรงของคู่เบส NO-2 กับ HCO3- แล้วพบว่า.........เพราะ .........
3. กำหนดค่าคงที่สมดุลของ CN- เท่ากับ 1.6 x 10-5 และ F- เท่ากับ 1.5 x 10-11
1) จงเขียนสมการแสดงสมดุลของ CN- และ F- ในน้ำ
.........
.........
2) จงเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของเบส CN- และ F-
.........
3) จงเปรียบเทียบความแก่-อ่อนของคู่กรด HCN กับ HF
.........
4. กำหนดสมการให้ดังนี้
CH3COO-(aq) + H2O(l) <===> CH3COO-(aq) + OH-(aq) Kb = 5.7x 10-10
CO32- (aq) + H2O(l) <===> HCO3- (aq) + OH-(aq) Kb = 2.1x 10-4
ถ้าสารละลาย CH3COO- และ CO32-เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร เท่ากัน ในระบบจะมีไอออน
ชนิดใดมากกว่ากัน เพราะเหตุใด
.........
สารละลาย HCl เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร ปริมาตร 10 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อเติมน้ำลงไป จนมีปริมาตร 50 ลูกบาศก์เซนติเมตร จะมีความเข้มข้นของ H3O+ ไอออนเท่าใด
.........
6. สารละลาย Ba(OH)2 เข้มข้น 0.2 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- ไอออนเท่าใด
.........
7. สารละลาย HA เข้มข้น 0.1 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร แตกตัวได้ร้อยละ 5
1) จงหาความเข้มข้นของ H3O+
.........
2) จงหาค่า Ka ของ HA
.........
8. สารละลาย KF เข้มข้น 0.6 โมลต่อลูกบาศก์เดซิเมตร จะมีความเข้มข้นของ OH- ไอออนเท่าใด กำหนด
Kb ของ F- เท่ากับ 1.5x 10-11
.........