สุดยอดความคิดเห็น
ความคิดเห็นที่ 2
ทำได้ครับ ไม่ยาก
ที่ยากคือ ราคาประมาณลิตรละ 250 - 300 บาท
หากต้องการพืชพลังงาน
ผมเห็นว่า หาพืช ที่ให้น้ำมัน แบบน้ำมันปาล์มมาปรับเป็นดีเซลจะเหมาะกว่า
เคยอ่านข่าว สาหร่ายน้ำมัน ที่วิจัยโดยทีมของ มหิดล
เขาบอกว่า สาหร่ายให้น้ำมันมาก และใช้เวลาเพียงไม่ถึงเดือนก็ให้น้ำมันแล้ว
เวลานี้ กำลังทดลอง เชิงอุตสาหกรรมอยู่ จากนั้นข่าวก็เงียบไป
นอกจากนี้ ที่เห็นง่ายๆ คือ หมักพืชบางชนิด แล้วได้ alc
ตรงนี้มีหลายแห่งทำอยู่ และทำขายให้ ปตท
เพื่อนำไปผสม เป็น แก๊สโซฮอล์
ถ้าให้เร็ว และมีความเป็นไปได้มากๆ ก็ผลิต alc ครับ
ที่ควรทำคู่กันคือ วิจัย และพัฒนาเครื่องยนต์ที่ใช้ alc ควบคู่กันไปด้วย
จะทำให้เงินตรา ไม่ไหลไปนอกประเทศครับ
ทางบราซิล เขาทำอยู่ แต่เป็นเทคโนโลยีของเขา
ของเรา ก็ควรทำเอง วิจัยเอง หรือลอกเลียนแบบเขาบางส่วน
วิจัยเอง บางส่วน น่าจะนำมาต่อยอดได้ดี และเร็วกว่า
----------------------------------
พอพูดมาถึง ตรงนี้ ก็จะมีบางท่านบอกว่า
โอ้ยยยย เอาที่นาที่ไร่ ไปปลูกพืชพลังงานซะหมด
ต่อไป เราจะกินอะไร
ตอบ เวลานี้ ข้าวเราเหลือบานเบอะ
และต้องเสียเงินตราไปซื้อน้ำมันจากต่างประเทศมากมาย
ตรงนี้ เราเสียหายเชิงเศรษฐกิจมาก
ควรวางแผน จำแนกที่ดินเพื่อใช้ทำอาหาร และพลังออกจากกัน
หรือ ควบคู่กันไป หากทำได้และได้พืชอายุสั้น เช่น 45 วัน
แล้วตัดขายตลอดไป ชาวนา-เกษตรกรจะมีอาชีพที่มั่นคง
รัฐก็ไม่ต้องมาประกันราคาข้าวทั่วไทยแล้วขาดทุน
ตราบที่เราใช้ acl หรือ พืชพลังงานในประเทศครับ
ปล. ผมเห็นด้วยกับความคิดของ จขกท ครับ
ที่ควรหาทาง พัฒนาพืชพลังงาน มาทดแทนปิโตรเลียมครับ
ที่ยากคือ ราคาประมาณลิตรละ 250 - 300 บาท
หากต้องการพืชพลังงาน
ผมเห็นว่า หาพืช ที่ให้น้ำมัน แบบน้ำมันปาล์มมาปรับเป็นดีเซลจะเหมาะกว่า
เคยอ่านข่าว สาหร่ายน้ำมัน ที่วิจัยโดยทีมของ มหิดล
เขาบอกว่า สาหร่ายให้น้ำมันมาก และใช้เวลาเพียงไม่ถึงเดือนก็ให้น้ำมันแล้ว
เวลานี้ กำลังทดลอง เชิงอุตสาหกรรมอยู่ จากนั้นข่าวก็เงียบไป
นอกจากนี้ ที่เห็นง่ายๆ คือ หมักพืชบางชนิด แล้วได้ alc
ตรงนี้มีหลายแห่งทำอยู่ และทำขายให้ ปตท
เพื่อนำไปผสม เป็น แก๊สโซฮอล์
ถ้าให้เร็ว และมีความเป็นไปได้มากๆ ก็ผลิต alc ครับ
ที่ควรทำคู่กันคือ วิจัย และพัฒนาเครื่องยนต์ที่ใช้ alc ควบคู่กันไปด้วย
จะทำให้เงินตรา ไม่ไหลไปนอกประเทศครับ
ทางบราซิล เขาทำอยู่ แต่เป็นเทคโนโลยีของเขา
ของเรา ก็ควรทำเอง วิจัยเอง หรือลอกเลียนแบบเขาบางส่วน
วิจัยเอง บางส่วน น่าจะนำมาต่อยอดได้ดี และเร็วกว่า
----------------------------------
พอพูดมาถึง ตรงนี้ ก็จะมีบางท่านบอกว่า
โอ้ยยยย เอาที่นาที่ไร่ ไปปลูกพืชพลังงานซะหมด
ต่อไป เราจะกินอะไร
ตอบ เวลานี้ ข้าวเราเหลือบานเบอะ
และต้องเสียเงินตราไปซื้อน้ำมันจากต่างประเทศมากมาย
ตรงนี้ เราเสียหายเชิงเศรษฐกิจมาก
ควรวางแผน จำแนกที่ดินเพื่อใช้ทำอาหาร และพลังออกจากกัน
หรือ ควบคู่กันไป หากทำได้และได้พืชอายุสั้น เช่น 45 วัน
แล้วตัดขายตลอดไป ชาวนา-เกษตรกรจะมีอาชีพที่มั่นคง
รัฐก็ไม่ต้องมาประกันราคาข้าวทั่วไทยแล้วขาดทุน
ตราบที่เราใช้ acl หรือ พืชพลังงานในประเทศครับ
ปล. ผมเห็นด้วยกับความคิดของ จขกท ครับ
ที่ควรหาทาง พัฒนาพืชพลังงาน มาทดแทนปิโตรเลียมครับ
แสดงความคิดเห็น
ยางพาราดิบสามารถนำมากลั่นเพื่อผลิตเป็นน้ำมันเชื้อเพลิงได
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=ravio&month=06-2011&date=20&group=6&gblog=58
ซึ่งผมไม่เคยได้ยินเรื่องนี้มาก่อน จึงอยากสอบถามผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านในที่นี้ว่า
มีความเป็นไปได้หรือไม่ครับ ที่จะสามารถผลิตน้ำมันเชื้อเพลิงจากยางพารา
รวมถึงการเกิดความพยายามที่จะผลักดันโดยภาครัฐ เพื่อสนับสนุนให้มีการผลิตน้ำมันจากยางเป็นรูปธรรม
และสามารถแข่งขันกับราคาพลังงานอื่นๆที่นำเข้ามาใช้บริโภคภายในประเทศ เพื่อให้เป็นอีกทางเลือกนึง
ของพลังงานทดแทนจากธรรมชาติ