เลือกตั้ง ไม่ใช่ว่าจะดีไปเสียทุกอย่าง แต่เป็น "อารยะ" ที่ส่งเสริมการใช้เหตุผล ไม่ใช้อารมณ์ และ "เคารพสิทธิ์ผู้อื่น"
เป็นหลักพื้นฐานสากลที่คนในสังคมประชาธิปไตย "ต้องร่วมกันสร้างอย่างอดทน" และต้องใช้เวลา
ยิ่งใช้นานสังคมเรียนรู้ มีการปรับให้ดีขึ้น โปร่งใสขึ้น สงบสุขขึ้นได้ เหมือนการ "ฝึกธรรม"
คาถาที่ใช้คือ "เธอเคารพสิทธิ์ของฉัน เช่นเดียวกับที่ ฉันเคารพสิทธิ์ของเธอ"
เทือกตั้ง ไม่เป็นอารยะ แต่เป็น"อาระเยอะ" เน้นพาพวกมาเยอะ ใช้อารมณ์ ไม่อดทน ใช้กติกรู ไม่ใช้กติกา "ฝืนความถูกต้อง"
รับประกันแน่นอนไม่ได้ว่า จะได้คนดี คนเก่ง แต่ "รับประกันได้แน่คือได้ ความขัดแย้ง"
ยิ่งใช้นานสังคมยิ่งร้อน เมื่อเทือกตั้งได้ อภิสิทธิ์ชนใดก็ตั้งได้ วุ่นวายไม่จบสิ้น สังคมไม่สงบ เป็น "อวิชชา"
คาถาที่ใช้คือ "เธอต้องเคารพสิทธิ์ของฉัน ไม่รับประกันว่า ฉันจะเคารพสิทธิ์ของเธอ"
ร่วมกันส่งเสริมชาติ และสถาบันฯให้แข็งแกร่งในระบอบประชาธิปไตย ไม่หลงเป็นผู้ทำลายเสียเอง
โดยร่วมกันสนับสนุนการเลือกตั้งวันที่ 2 กพ.ตามกติกากันดีกว่า
เป็นโอกาสที่แสดงออกได้โดย "ไม่ต้องฝืนความถูกต้อง"
เป็นวิธีสากลง่ายๆที่แสดงถึง ความรักชาติและสถาบันฯ ได้แบบมี"อารยะ"อย่างแท้จริง
เลือกตั้ง VS เทือกตั้ง
เป็นหลักพื้นฐานสากลที่คนในสังคมประชาธิปไตย "ต้องร่วมกันสร้างอย่างอดทน" และต้องใช้เวลา
ยิ่งใช้นานสังคมเรียนรู้ มีการปรับให้ดีขึ้น โปร่งใสขึ้น สงบสุขขึ้นได้ เหมือนการ "ฝึกธรรม"
คาถาที่ใช้คือ "เธอเคารพสิทธิ์ของฉัน เช่นเดียวกับที่ ฉันเคารพสิทธิ์ของเธอ"
เทือกตั้ง ไม่เป็นอารยะ แต่เป็น"อาระเยอะ" เน้นพาพวกมาเยอะ ใช้อารมณ์ ไม่อดทน ใช้กติกรู ไม่ใช้กติกา "ฝืนความถูกต้อง"
รับประกันแน่นอนไม่ได้ว่า จะได้คนดี คนเก่ง แต่ "รับประกันได้แน่คือได้ ความขัดแย้ง"
ยิ่งใช้นานสังคมยิ่งร้อน เมื่อเทือกตั้งได้ อภิสิทธิ์ชนใดก็ตั้งได้ วุ่นวายไม่จบสิ้น สังคมไม่สงบ เป็น "อวิชชา"
คาถาที่ใช้คือ "เธอต้องเคารพสิทธิ์ของฉัน ไม่รับประกันว่า ฉันจะเคารพสิทธิ์ของเธอ"
ร่วมกันส่งเสริมชาติ และสถาบันฯให้แข็งแกร่งในระบอบประชาธิปไตย ไม่หลงเป็นผู้ทำลายเสียเอง
โดยร่วมกันสนับสนุนการเลือกตั้งวันที่ 2 กพ.ตามกติกากันดีกว่า
เป็นโอกาสที่แสดงออกได้โดย "ไม่ต้องฝืนความถูกต้อง"
เป็นวิธีสากลง่ายๆที่แสดงถึง ความรักชาติและสถาบันฯ ได้แบบมี"อารยะ"อย่างแท้จริง