เกี่ยวกับการเขียนบรรณานุกรมหนังสือแปลที่มีหลายรูปแบบเหลือเกิน...จะใช้แบบไหนดีครับ -*-

กระทู้คำถาม
ค้นวิธีเขียนมาจากหลายที่นะครับ ทีนี้เริ่มงงแล้วว่าแบบไหนควรใช้  Facepalm



แบบชื่อจริง ตามด้วยนามสกุล เป็นภาษาอังกฤษ
      2.2 หนังสือแปล
              ชื่อผู้แต่ง .ชื่อหนังสือ . ครั้งที่พิมพ์ . สถานที่พิมพ์ : สำนักพิมพ์ , ปีที่พิมพ์ .
              ตัวอย่าง Theeraputh Mekathikom. ทักษะการใช้ภาษาไทย. แปลโดย กนกวรรณ โสดาตา.
                                        พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : NECTEC, 2546.



แบบนามสกุลนำหน้า ตามด้วยชื่อจริง เป็นทับศัพท์
ผู้เขียนเดิม.  (ปีที่พิมพ์).  ชื่อเรื่องภาษาไทย.  แปลโดย ชื่อผู้แปล.  ครั้งที่พิมพ์.  สถานที่พิมพ์: สำนักพิมพ์.
ซาเว็ตซ์, เควิน เอ็ม.  (2539).  ไขปัญหาอินเทอร์เน็ต.  แปลโดย กิตติ บุณยกิจโณทัย; มีชัย เจริญด้วยศีล;
                  และ อมร เทพ เลิศทัศนวงศ์.  กรุงเทพฯ:ซีเอ็ดยูเคชั่น.



แบบใส่วงเล็บให้ผู้แปล (ชื่อผู้แปล, / แปล)
หนังสือแปล
รูปแบบการลงรายการบรรณานุกรมดังนี้
ผู้แต่ง. // (ปีที่พิมพ์). // ชื่อเรื่อง. // (ชื่อผู้แปล, / แปล). // สถานที่พิมพ์: / สำนักพิมพ์หรือโรงพิมพ์.

ตัวอย่าง
แพทส์, เอ.  และแบล็คเวลล์,  เจ.  (2531).  ทำงานให้ได้เนื้องาน.  (ม.  อึ้งอรุณ, แปล).  กรุงเทพฯ:
         ซีเอ็ด ยูเคชั่น.

Ferry,  L.  (1992).  Political philosophy.  (F.  Phillip, Trans.).  Chicago: University of
   Chicago Press.


แบบใส่ชื่อเรื่องตามภาษาเดิมตามด้วยชื่อผู้แปล





ใช้ได้ทุกอันเลยหรือเปล่าครับ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่