คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 4
ข้อใดเป็นสารที่ใช้ในการเตรียมตัวอย่างเพื่อตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่าน
1.สารเรืองแสง
2.สารประกอบอินทรีย์
3.สารประกอบโลหะซึ่งลำอิเล็กตรอนผ่านไม่ได้
4.สารสีเหมือนกับที่ใช้ย้อมตัวอย่างที่ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
5.ไม่ต้องย้อมเพราะเป็นภาพขาวดำ
ข้อ 1 สารเรืองแสง ในสมัยก่อน ใช้ทำฉากรับภาพครับ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น ตัวตรวจวัดแบบอิเล็กทรอนิค
ข้อ 2 สารประกอบอินทรีย์ -*- อันนี้มัน organic compound
ข้อ 4 สารสี กรณีนี้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เป็นภาพขาวดำหมด ย้อมสีไปก็เท่านั้น
ข้อ 5 ไม่ต้องย้อม ถ้าไม่มีตัวนำไฟฟ้าอยู่ที่ตัวอย่าง จะเกิด charge surface เยอะมาก เพราะอิเล็กตอนไม่สามารถเคลือนที่ออกไปจากตัวอย่างได้
กรณีเกิดจากการแปลอังกฤษเป็นไทย ทำให้ดูงงๆ
เนื่องจาก TEM นั้นต้องการให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ เนื่องมากจากต้องการเอาประจุออกจากตัวอย่าง จึงนำตัวอย่างไปวางบนวัตถุที่นำไฟฟ้า
ซึ่งเจ้าสารตัวนี้มีสมบัตินำไฟฟ้า จึงทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่บนตัวอย่างเคลื่อนที่ออกไปจากตัวอย่างได้ ไม่กองกันอยู่บนพื้นผิวของตัวอย่าง
และถ้าอิเล็กตรอนทะลุผ่านไอ้เจ้าตัวนำนี้ไปได้ อิเล็กตรอนที่ทะลุผ่านไปจะไปผสมปนกันมั่วกับอิเล็กตรอนที่ทะลุผ่านจากตัวอย่าง
ดังนั้นเราจึงต้องการอะไรซักอย่างที่นำไฟฟ้าได้ แต่อิเล็กตรอนไม่สามารถทะลุผ่านได้
นั้นทำให้ข้อ สามเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
ตัวอย่างของวัสดุจำพวกนี้ เช่น copper grid ที่บอกไป เพราะแถบทองแดงนำไฟฟ้าได้ดี แต่มีขนาดหนา ทำให้อิเล็กตรอนไม่สามารถทะลุผ่านได้
1.สารเรืองแสง
2.สารประกอบอินทรีย์
3.สารประกอบโลหะซึ่งลำอิเล็กตรอนผ่านไม่ได้
4.สารสีเหมือนกับที่ใช้ย้อมตัวอย่างที่ดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ใช้แสง
5.ไม่ต้องย้อมเพราะเป็นภาพขาวดำ
ข้อ 1 สารเรืองแสง ในสมัยก่อน ใช้ทำฉากรับภาพครับ แต่ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น ตัวตรวจวัดแบบอิเล็กทรอนิค
ข้อ 2 สารประกอบอินทรีย์ -*- อันนี้มัน organic compound
ข้อ 4 สารสี กรณีนี้ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน เป็นภาพขาวดำหมด ย้อมสีไปก็เท่านั้น
ข้อ 5 ไม่ต้องย้อม ถ้าไม่มีตัวนำไฟฟ้าอยู่ที่ตัวอย่าง จะเกิด charge surface เยอะมาก เพราะอิเล็กตอนไม่สามารถเคลือนที่ออกไปจากตัวอย่างได้
กรณีเกิดจากการแปลอังกฤษเป็นไทย ทำให้ดูงงๆ
เนื่องจาก TEM นั้นต้องการให้ตัวอย่างนำไฟฟ้าได้ เนื่องมากจากต้องการเอาประจุออกจากตัวอย่าง จึงนำตัวอย่างไปวางบนวัตถุที่นำไฟฟ้า
ซึ่งเจ้าสารตัวนี้มีสมบัตินำไฟฟ้า จึงทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่บนตัวอย่างเคลื่อนที่ออกไปจากตัวอย่างได้ ไม่กองกันอยู่บนพื้นผิวของตัวอย่าง
และถ้าอิเล็กตรอนทะลุผ่านไอ้เจ้าตัวนำนี้ไปได้ อิเล็กตรอนที่ทะลุผ่านไปจะไปผสมปนกันมั่วกับอิเล็กตรอนที่ทะลุผ่านจากตัวอย่าง
ดังนั้นเราจึงต้องการอะไรซักอย่างที่นำไฟฟ้าได้ แต่อิเล็กตรอนไม่สามารถทะลุผ่านได้
นั้นทำให้ข้อ สามเป็นคำตอบที่ถูกต้อง
ตัวอย่างของวัสดุจำพวกนี้ เช่น copper grid ที่บอกไป เพราะแถบทองแดงนำไฟฟ้าได้ดี แต่มีขนาดหนา ทำให้อิเล็กตรอนไม่สามารถทะลุผ่านได้
แสดงความคิดเห็น
ถามผู้รู้เกี่ยวกับ Electron microscope ครับ
sem ---> เคลือบ"ทอง"หรือ"ทองผลมแพลตทินัม"หรือ"คาร์บอน"
tem ---> เคลือบพวก Pb
ผมเข้าใจถุกมั๊ยอ่ะครับ