คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 3
ทางอาญา ได้
ตาม พรบ. จราจรทางบก (ซึ่งรัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย)
ถ้าการชนกระจกมองข้างทำให้เกิดการเสียหายแก่ทรัพย์สิน หรือ บุคคล (บุคคลจะเป็นแก่จิตใจก็ถือว่าใช่) ของผู้อื่น (ต้องพิสูจน์ว่าเสียหมายอย่างไร ขณะนั้น หรือ เสียหายได้ในอนาคต) และ เนื่องจากคุณต้องหยุดรถ และให้ความช่วยเหลือตามสมควร และพร้อมทั้งแสดงตัวและแจ้งเหตุต่อตำรวจที่ใกล้เคียงทันที กับต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อสกุล และที่อยู่ของคุณกับหมายเลขทะเบียนรถแก่ผู้ได้รับความเสียหมายด้วย หากไม่ปฏิบัติ ถือเป็นความผิด ตาม พรบ.จาจรทางบก มาตรา 78 วรรคแรก แต่ในทางปฏิบัติแทบจะเป็น Tigerกระดาษ (ระบบเซ็นเซอร์ทำไม่สามารถพิมพ์คำว่า Tiger paper เป็นภาษาไทยได้) ส่วนอีกข้อหา เนื่องจากการที่คุณขับคร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องเดินรถ ถือเป็นความผิดตาม พรบ.จราจรทางบก มาตรา 43 (6) โทษปรับ 400 - 1,000 บาท ซึ่งให้อำนาจตำรวจจะเปรียบเทียบปรับได้ คดีดังกล่าวจึงระงับได้ไม่ต้องถึงศาล
ส่วน ป.อ. มาตรา 390 ฐานประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่จิตใจ (รัฐและผู้ผู้เสียหมาย ถือเป็นผู้เสียหาย) ถ้าโจทก์พิสูจน์ให้ศาลเชื่อได้ คุณก็ผิด แต่ในทางปฏิบัติยังไม่เคยเจอกรณีนี้ขึ้นศาล
ทางแพ่ง ได้
ถ้าผู้เสียหาย สามารถพิสูจน์ในศาลเชื่อได้ว่าตน เสียหายแก่ทรัพย์สิน หรือ บุคคล(บุคคลจะเป็นแก่จิตใจก็ถือว่าใช่) ตาม ป.พ.พ. มาตรา 420 ซึ่งถ้าศาลเชื่อ คุณก็ต้องจ่ายค่าเสียหายให้โจทก์ แต่ในทางปฏิบัติไม่มีใครทำกันหรอก
ตาม พรบ. จราจรทางบก (ซึ่งรัฐเท่านั้นเป็นผู้เสียหาย)
ถ้าการชนกระจกมองข้างทำให้เกิดการเสียหายแก่ทรัพย์สิน หรือ บุคคล (บุคคลจะเป็นแก่จิตใจก็ถือว่าใช่) ของผู้อื่น (ต้องพิสูจน์ว่าเสียหมายอย่างไร ขณะนั้น หรือ เสียหายได้ในอนาคต) และ เนื่องจากคุณต้องหยุดรถ และให้ความช่วยเหลือตามสมควร และพร้อมทั้งแสดงตัวและแจ้งเหตุต่อตำรวจที่ใกล้เคียงทันที กับต้องแจ้งชื่อตัว ชื่อสกุล และที่อยู่ของคุณกับหมายเลขทะเบียนรถแก่ผู้ได้รับความเสียหมายด้วย หากไม่ปฏิบัติ ถือเป็นความผิด ตาม พรบ.จาจรทางบก มาตรา 78 วรรคแรก แต่ในทางปฏิบัติแทบจะเป็น Tigerกระดาษ (ระบบเซ็นเซอร์ทำไม่สามารถพิมพ์คำว่า Tiger paper เป็นภาษาไทยได้) ส่วนอีกข้อหา เนื่องจากการที่คุณขับคร่อมหรือทับเส้นหรือแนวแบ่งช่องเดินรถ ถือเป็นความผิดตาม พรบ.จราจรทางบก มาตรา 43 (6) โทษปรับ 400 - 1,000 บาท ซึ่งให้อำนาจตำรวจจะเปรียบเทียบปรับได้ คดีดังกล่าวจึงระงับได้ไม่ต้องถึงศาล
ส่วน ป.อ. มาตรา 390 ฐานประมาท เป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับอันตรายแก่จิตใจ (รัฐและผู้ผู้เสียหมาย ถือเป็นผู้เสียหาย) ถ้าโจทก์พิสูจน์ให้ศาลเชื่อได้ คุณก็ผิด แต่ในทางปฏิบัติยังไม่เคยเจอกรณีนี้ขึ้นศาล
ทางแพ่ง ได้
ถ้าผู้เสียหาย สามารถพิสูจน์ในศาลเชื่อได้ว่าตน เสียหายแก่ทรัพย์สิน หรือ บุคคล(บุคคลจะเป็นแก่จิตใจก็ถือว่าใช่) ตาม ป.พ.พ. มาตรา 420 ซึ่งถ้าศาลเชื่อ คุณก็ต้องจ่ายค่าเสียหายให้โจทก์ แต่ในทางปฏิบัติไม่มีใครทำกันหรอก
แสดงความคิดเห็น
สะกิดกระจกข้าง เอาเรื่องถึงชนแล้วหนี ได้หรือปล่าว ?
เราขับมอเตอร์ไซค์แทรกรถไปอย่างช้าๆ แล้วกระจกมอเตอร์ไซค์ไปโดนกับกระจกรถเก๋งเบาๆ
ก้มหัวขอโทษ ยกมือขอโทษ แล้วขับไปเลย ไม่ได้จอดลงไปคุยกับเจ้าของรถให้เป็นทางการ
คำถามคือ
ถ้าเจ้าของรถจะเอาผิดถึงที่สุด ไปแจ้งความว่าชนแล้วหนี
แล้วก็มีหลักฐานครบ พยาน(รถเก๋งอีกข้างที่กำลังแทรก,มอไซค์ที่ตามหลังมา) วีดีโอจากกล้องวงจรปิด(เห็นเหตุการณ์ทั้งหมดชัด)
จะเกิดเป็นคดีความ ขึ้นศาลกันเลยไหม
ขอบคุณครับ
ปล.ที่ถามเพราะเท่าที่อ่านในห้องนี้ ถ้ามอเตอร์ไซค์ไม่ได้ตั้งใจ แล้วก็สะกิดกันเบาๆไม่เกิดความเสียหายอะไร
แสดงการขอโทษ ส่วนมากทางรถยนต์ก็ปล่อยผ่านไปไม่เอาเรื่องเอาราวอะไร
เลยอยากจะรู้ในมุมกลับกันว่าจะเป็นยังไง หากว่าจะเอาเรื่องให้ถึงที่สุด จะเกิดอะไรขึ้นบ้างในเรื่องทางกฏหมาย