คำตอบที่ได้รับเลือกจากเจ้าของกระทู้
ความคิดเห็นที่ 1
ดูกรสารีบุตร ก็เทวดาเหล่านั้นยืนอยู่ในโอกาสแม้เท่าปลายเหล็กแหลม
จดลง ๑๐ องค์บ้าง ๒๐ องค์บ้าง ๓๐ องค์บ้าง ๔๐ องค์บ้าง ๕๐ องค์บ้าง ๖๐
องค์บ้าง แต่ก็ไม่เบียดกันและกัน ดูกรสารีบุตร ก็เธอพึงมีความคิดอย่างนี้ว่า
จิตอย่างนั้น ซึ่งเป็นเหตุให้เทวดาเหล่านั้นยืนอยู่ได้ในโอกาสแม้เท่าปลายเหล็ก
แหลมจดลง ๑๐ องค์บ้าง ... ๖๐ องค์บ้าง เป็นจิตอันเทวดาเหล่านั้นอบรมแล้ว
ในภพนั้นแน่นอน ดูกรสารีบุตร ก็ข้อนั้นเธอไม่ควรเห็นเช่นนี้ ดูกรสารีบุตร
ก็จิตอย่างนั้น ซึ่งเป็นเหตุให้เทวดาเหล่านั้นยืนอยู่ได้ในโอกาสแม้เท่าปลายเหล็ก
แหลมจดลง ๑๐ องค์บ้าง ฯลฯ แต่ก็ไม่เบียดกันและกัน เทวดาเหล่านั้นได้อบรม
แล้วในศาสนานี้เอง เพราะฉะนั้นแหละสารีบุตร เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จักเป็น
ผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับอยู่ เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ สารีบุตร กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรมของผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับ จักสงบระงับ เพราะฉะนั้น
แหละ สารีบุตร เธอพึงศึกษาว่า จักนำกายและจิตที่สงบระงับแล้วเท่านั้นเข้าไป
ในพรหมจารีทั้งหลาย ดูกรสารีบุตร เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ ดูกรสารีบุตร
พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกที่ไม่ได้ฟังธรรมบรรยายนี้ ได้พากันเสียแล้ว ฯ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ บรรทัดที่ ๑๖๑๗ - ๑๘๔๐. หน้าที่ ๗๐ - ๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=1617&Z=1840&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=277
*****************************************************
ผมว่า น่าจะเป็นการเปรียบเทียบ ของหลวงปู่ ครับ
จดลง ๑๐ องค์บ้าง ๒๐ องค์บ้าง ๓๐ องค์บ้าง ๔๐ องค์บ้าง ๕๐ องค์บ้าง ๖๐
องค์บ้าง แต่ก็ไม่เบียดกันและกัน ดูกรสารีบุตร ก็เธอพึงมีความคิดอย่างนี้ว่า
จิตอย่างนั้น ซึ่งเป็นเหตุให้เทวดาเหล่านั้นยืนอยู่ได้ในโอกาสแม้เท่าปลายเหล็ก
แหลมจดลง ๑๐ องค์บ้าง ... ๖๐ องค์บ้าง เป็นจิตอันเทวดาเหล่านั้นอบรมแล้ว
ในภพนั้นแน่นอน ดูกรสารีบุตร ก็ข้อนั้นเธอไม่ควรเห็นเช่นนี้ ดูกรสารีบุตร
ก็จิตอย่างนั้น ซึ่งเป็นเหตุให้เทวดาเหล่านั้นยืนอยู่ได้ในโอกาสแม้เท่าปลายเหล็ก
แหลมจดลง ๑๐ องค์บ้าง ฯลฯ แต่ก็ไม่เบียดกันและกัน เทวดาเหล่านั้นได้อบรม
แล้วในศาสนานี้เอง เพราะฉะนั้นแหละสารีบุตร เธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จักเป็น
ผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับอยู่ เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ สารีบุตร กายกรรม
วจีกรรม มโนกรรมของผู้มีอินทรีย์สงบ มีใจระงับ จักสงบระงับ เพราะฉะนั้น
แหละ สารีบุตร เธอพึงศึกษาว่า จักนำกายและจิตที่สงบระงับแล้วเท่านั้นเข้าไป
ในพรหมจารีทั้งหลาย ดูกรสารีบุตร เธอควรศึกษาเช่นนี้แหละ ดูกรสารีบุตร
พวกอัญญเดียรถีย์ปริพาชกที่ไม่ได้ฟังธรรมบรรยายนี้ ได้พากันเสียแล้ว ฯ
เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๒๐ บรรทัดที่ ๑๖๑๗ - ๑๘๔๐. หน้าที่ ๗๐ - ๗๙.
http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=20&A=1617&Z=1840&pagebreak=0
ศึกษาอรรถกถานี้ ได้ที่ :-
http://www.84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=20&i=277
*****************************************************
ผมว่า น่าจะเป็นการเปรียบเทียบ ของหลวงปู่ ครับ
แสดงความคิดเห็น
ขอสอบถามเรื่อง ปรมาณู หน่อยครับ
-----------------------------------
อาตมามีส่วนเสียอยู่อย่างหนึ่ง คือ ชอบถามหรือพูดกับหลวงปู่แบบทีเล่นทีจริงอยู่เรื่อย ทั้งนี้ก็เพราะหลวงปู่ไม่เคยถือ ท่านเป็นกันเองกับพระเณรผู้ใกล้ชิดอย่างสม่ำเสมอ เช่น ถามท่านว่า ในตำรากล่าวว่า มีเทวดามาชุมนุมฟังเทศน์ หรือมาเฝ้าพระพุทธเจ้าหลายสิบโกฏินั้น จะมีสถานที่บรรจุพอหรือ เสียงดังทั่วถึงกันหรือฯ
เมื่อได้ฟังหลวงปู่แล้วก็งวยงงและอัศจรรย์ใจอย่างยิ่ง เพราะไม่เคยพบในตำราและไม่เคยได้ยินมาก่อน และยิ่งกว่านั้น เพิ่งจะได้ฟังท่านพูดเมื่ออาพาธหนักแล้ว ใกล้จะมรณภาพด้วยฯ
หลวงปู่ตอบว่า
“ เทวดาจะมาชุมนุมกันจำนวนกี่ล้านโกฏิ ก็ไม่มีปัญหาอะไร เพราะในเนื้อที่หนึ่งปรมาณู เทวดาอยู่ได้ถึงแปดองค์”
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
----------------------------------------------------
ผมสงสัยว่า หนึ่งปรมาณู เทวดาอยู่ได้ถึงแปดองค์ ตามที่หลวงปู่ดูลย์ท่านกล่าวไว้ (ซึ่งปรมาณู เป็นสสารที่เล็กที่สุด เปรียบเหมือนการแยกเม็ดข้าวเปลือกให้เล็กลงไปเรื่อยๆ จนถึง 82,301,184 ส่วนคือ 1 ปรมาณู ) ผมเลยสงสัย นึกภาพไม่ออก ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นสิ่งที่ควรจะคิดหาคำตอบ แต่ใครที่มีความเห็นยังไงช่วยแนะนำด้วยครับ (ถ้าข้อมูลผิด ขออภัยด้วยนะครับ)