Natural Nuclear Reaactors พบได้ในประเทศ Gabon ทวีปแอฟริกา แหล่งแร่ยูเรเนียมตั้งอยู่ในเมือง Oklo ที่อยู่ด้านตะวันออกเฉียงใต้ ของประเทศ
แม้ว่า Gabon จะเป็นประเทศในเขตศูนย์สูตร พื้นที่ของ Oklo ประกอบด้วยผืนทุ้งหญ้าบนที่สูง ในช่วงปี 1966 มีการสำรวจทางธรณีเคมี โดยคณะสำรวจเหมืองแร่ได้ให้ควาใสนใจอย่างมากกับพื้นที่ในบริเวณที่เรียกว่า Franceville Basin พบว่าเป็นแหล่งแรที่มีปริมาณยูเรเนียมมาก ในพื้นที่บริเวณ Oklo นั้นมีการค้นพบแหล่งแร่ยูรเนียมกว้างมาก
ในการทำเหมืองแร่ยูเรเนียม บริษัทก็ได้สร้างโรงงานถลุงแร่ และสำนักงานของบริษัท พร้อมที่พักคนงานเหมืองอยู่ใกล้กับบริเวณตัวเหมือง
ได้เริ่มมีการทำเหมืองโดยเริ่มทำเหมืองจากทางด้านทิศเหนือของบริเวณแหล่งแร่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1972 มีการค้นพบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือเตานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทางแอฟริกาตะวันตก คือที่ “โอโกล” (Oklo) ในสาธารณรัฐกาบอง ซึ่งมีสภาวะวิกฤตเมื่อประมาณ 1.7 พันล้านปีก่อน พลังงานที่ปล่อยออกมาประมาณว่า 15,000 เมกะวัตต์-ปี จากยูเรเนียมที่ใช้ไปราว 6 ตัน โดยมันน่าจะทำงานนานอยู่หลายแสนปี แต่เมื่อมีการทำเหมืองลึกลงไปใต้ดินระดับลึกไม่พบว่ามีการเกิดปฏิกิริยาแตกตัวอย่างต่อเนื่อง ธรรมชาติแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการดำรงอยู่ของกากกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาที่ยังคงอยู่ในบริเวณเดิมโดยไม่มีการย้ายที่ ซึ่งถูกพบว่าเคยมีการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ในบริเวณที่กากนิวเคลียร์ระดับสูงฝังอยู่
(1) บริเวณเตานิวเคลียร์ (2) ชั้นหินทราย (3) ชั้นแร่ยูเรเนียม (4) ชั้นหินแกรนิต
โอโกลเป็นบริเวณที่อุดมด้วยสินแร่ยูเรเนียมที่มีชื่อว่าพิตช์เบลนด์ (pitchblende) นักธรณีวิทยาคำนวณว่าเกิดมีแร่ในช่วงบรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic อยู่ในช่วง 500 ถึง 2500 ล้านปีก่อน) ซึ่งพออธิบายการเกิดว่า ตามเคมีของยูเรเนียมนั้น ตามปกติยูเรเนียมจะละลายได้ในน้ำที่มีออกซิเจนละลายอยู่ ก็คือโดยเกิดการออกซิไดส์นั่นเอง ในยุคดังกล่าวน้ำบาดาลที่มีออกซิเจนละลายอยู่จึงละลายเอายูเรเนียมที่เกิดกระจัดกระจายในหินมาอยู่ในน้ำเรียกว่า ไอออนยูเรนิล (uranyl ion) ซึ่งความเข้มข้นสูงสุดอยู่
ภาพแร่พิตช์เบลนด์
ภาพเหมืองแร่
Oklo ปฏิกรณ์ธรรมชาติ Natural Nuclear Reaactors
แม้ว่า Gabon จะเป็นประเทศในเขตศูนย์สูตร พื้นที่ของ Oklo ประกอบด้วยผืนทุ้งหญ้าบนที่สูง ในช่วงปี 1966 มีการสำรวจทางธรณีเคมี โดยคณะสำรวจเหมืองแร่ได้ให้ควาใสนใจอย่างมากกับพื้นที่ในบริเวณที่เรียกว่า Franceville Basin พบว่าเป็นแหล่งแรที่มีปริมาณยูเรเนียมมาก ในพื้นที่บริเวณ Oklo นั้นมีการค้นพบแหล่งแร่ยูรเนียมกว้างมาก
ในการทำเหมืองแร่ยูเรเนียม บริษัทก็ได้สร้างโรงงานถลุงแร่ และสำนักงานของบริษัท พร้อมที่พักคนงานเหมืองอยู่ใกล้กับบริเวณตัวเหมือง
ได้เริ่มมีการทำเหมืองโดยเริ่มทำเหมืองจากทางด้านทิศเหนือของบริเวณแหล่งแร่ ต่อมาในปี ค.ศ. 1972 มีการค้นพบเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์หรือเตานิวเคลียร์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติทางแอฟริกาตะวันตก คือที่ “โอโกล” (Oklo) ในสาธารณรัฐกาบอง ซึ่งมีสภาวะวิกฤตเมื่อประมาณ 1.7 พันล้านปีก่อน พลังงานที่ปล่อยออกมาประมาณว่า 15,000 เมกะวัตต์-ปี จากยูเรเนียมที่ใช้ไปราว 6 ตัน โดยมันน่าจะทำงานนานอยู่หลายแสนปี แต่เมื่อมีการทำเหมืองลึกลงไปใต้ดินระดับลึกไม่พบว่ามีการเกิดปฏิกิริยาแตกตัวอย่างต่อเนื่อง ธรรมชาติแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของการดำรงอยู่ของกากกัมมันตรังสีที่เกิดขึ้นจากปฏิกิริยาที่ยังคงอยู่ในบริเวณเดิมโดยไม่มีการย้ายที่ ซึ่งถูกพบว่าเคยมีการเกิดปฏิกิริยาลูกโซ่ในบริเวณที่กากนิวเคลียร์ระดับสูงฝังอยู่
(1) บริเวณเตานิวเคลียร์ (2) ชั้นหินทราย (3) ชั้นแร่ยูเรเนียม (4) ชั้นหินแกรนิต
โอโกลเป็นบริเวณที่อุดมด้วยสินแร่ยูเรเนียมที่มีชื่อว่าพิตช์เบลนด์ (pitchblende) นักธรณีวิทยาคำนวณว่าเกิดมีแร่ในช่วงบรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic อยู่ในช่วง 500 ถึง 2500 ล้านปีก่อน) ซึ่งพออธิบายการเกิดว่า ตามเคมีของยูเรเนียมนั้น ตามปกติยูเรเนียมจะละลายได้ในน้ำที่มีออกซิเจนละลายอยู่ ก็คือโดยเกิดการออกซิไดส์นั่นเอง ในยุคดังกล่าวน้ำบาดาลที่มีออกซิเจนละลายอยู่จึงละลายเอายูเรเนียมที่เกิดกระจัดกระจายในหินมาอยู่ในน้ำเรียกว่า ไอออนยูเรนิล (uranyl ion) ซึ่งความเข้มข้นสูงสุดอยู่
ภาพแร่พิตช์เบลนด์
ภาพเหมืองแร่