5 ธ.ค.2556 คณาจารย์ 135 คน ร่วมลงนามใน ‘จดหมายเปิดผนึกจากคณาจารย์กลุ่มหนึ่งต่อท่าทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณ์วิกฤติการเมือง’ ไม่เห็นด้วยต่อการแสดงท่าทีของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ในสถานการณ์วิกฤติการเมืองปัจจุบัน โดยระบุไม่ได้สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาคมทางวิชาการของประเทศ และไม่ได้คำนึงถึงประโยชน์ต่อสังคมในระยะยาว
จดหมายเปิดผนิดดังกล่าวมีเนื้อหา ดังนี้
จดหมายเปิดผนึกจากคณาจารย์กลุ่มหนึ่งต่อท่าทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณ์วิกฤติการเมือง
เรียนที่ประชุมอธิการบดี
ข้าพเจ้าผู้มีรายนามดังต่อไปนี้ มีความเห็นว่าท่าทีของที่ประชุมอธิการบดี (ทปอ.)
ในสถานการณ์วิกฤติการเมืองในห้วงเวลานี้ไม่ได้สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาคมทางวิชาการของประเทศ และไม่ได้คำนึงถึงประโยชน์ต่อสังคมในระยะยาว ด้วยเหตุผลสี่ประการ
1. ในการประชุมและการแถลงท่าทีของ ทปอ.ต่อสถานการณ์ทางการเมือง ทปอ.ได้จัดการประชุมกันเอง โดยไม่ได้จัดรับฟังความเห็นและข้อถกเถียงจากประชาคมมหาวิทยาลัยของตนเองเลย การบริหารของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งนั้นมีโครงสร้างการบริหารจัดการที่ซับซ้อนและคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล โดยเฉพาะหลักการมีส่วนร่วมและพร้อมรับผิดชอบ (accountability) มิได้ปล่อยให้อธิการบดีเอาความเป็นสถาบัน และภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยออกไปใช้ในทางการเมืองโดยไม่ฟังเสียงประชาคมของมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นิสิตนักศึกษา
2. การนำเสนอความเห็นต่อสถานการณ์การเมืองของ ทปอ.ในระยะที่ผ่านมา โดยเฉพาะการนำเสนอทางออกต่อวิกฤติทางการเมืองโดยการนำเสนอเรื่องของรัฐบาลรักษาการที่เป็นกลาง มีแนวโน้มที่จะขัดต่อหลักการและเจตจำนงของรัฐธรรมนูญเนื่องจากขาดการยึดโยงกับหลักการประชาธิปไตย ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดแจ้ง ไม่ว่าจะเป็นหลักของความเป็นตัวแทนจากการเลือกตั้งและเสียงข้างมาก อีกทั้งยังขัดต่อหลักนิติธรรมเองในแง่ของความถูกต้องทางกฎหมายและตามขั้นตอนของกฎหมาย การนำเสนอความเห็นจากที่ประชุมอธิการบดีไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามอย่างถึงที่สุดที่จะผดุงไว้ซึ่งหลักการประชาธิปไตยที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดแจ้ง กลับเปิดทางให้เกิดการตีความที่คลุมเครือและสุ่มเสี่ยงทีจะเกี่ยวพันกับเงื่อนไขนอกวิถีทางของรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย
3. ข้อเสนอของ ทปอ.ที่ผ่านมา ส่งผลต่อประโยชน์และความได้เปรียบทางการเมืองของกลุ่มการเมืองบางกลุ่มอย่างชัดเจน ปัญหาสำคัญในเรื่องนี้คือ นอกจากนำเอามหาวิทยาลัยซึ่งเป็นสถาบันสาธารณะเข้าไปเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางการเมืองแล้ว ทปอ. ซึ่งเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่มีกฎหมายรองรับ ยังไม่ได้ปกป้องการทำหน้าที่หลักของมหาวิทยาลัย นั่นคือการให้บริการการเรียนการสอนต่อนิสิตนักศึกษาของตน เมื่อเกิดความขัดแย้งทางการเมืองจนถึงขั้นที่มีแนวโน้มหรือมีการใช้ความรุนแรงบนท้องถนน ผู้บริหารสถาบันการศึกษาและที่ประชุม ทปอ.ควรแถลงเรียกร้องให้กลุ่มต่างๆ จำกัดพื้นที่ความขัดแย้งทางการเมืองไม่ให้กระทบต่อความปลอดภัยของประชาคมมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทำการเรียนการสอนดำเนินได้อย่างปกติ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยควรยืนหยัดต่อเจตนารมณ์ดังกล่าว และเตือนสติขั้วขัดแย้งทางการเมืองให้ตระหนักถึงความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของสังคมเป็นสำคัญ การประกาศงดการเรียนการสอนเพื่อความปลอดภัยต่อประชาคมมหาวิทยาลัยนั้นเป็นสิ่งที่ควรกระทำ แต่ก็ต้องตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมาว่าการประกาศงดการเรียนการสอนในบางกรณีนั้นอาจกลายเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองบางกลุ่มได้เช่นกัน
4. ทปอ. ต้องเข้าใจว่ามหาวิทยาลัยต้องมีความเป็นกลางทางการเมืองและช่วยนำพาสังคมข้ามพ้นจากวิกฤติทางการเมืองในระยะยาว ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยจะต้องคำนึงถึงความหลากหลายของความคิดเห็นและเสรีภาพทางวิชาการของประชาคมของตน และของสังคมโดยรวม การที่ทปอ.นำมหาวิทยาลัยไปผูกอยู่กับจุดยืนทางการเมืองของผู้บริหารมหาวิทยาลัยบางคน จึงเป็นเรื่องน่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นอุปสรรคต่อการสร้างบรรยากาศที่เชิดชูเสรีภาพและความหลากหลายทางความคิด และความอดทนอดกลั้นของประชาคมมหาวิทยาลัยและผู้คนในสังคม อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่จะนำพาสังคมข้ามพ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองเฉพาะหน้า และจะทำให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันสาธารณะที่รับผิดชอบต่อสังคมในระยะยาว
รายชื่อคณาจารย์
1.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2.
เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.
ไชยันต์ รัชชกูล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
4.
สุรชาติ บำรุงสุข คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5.
กฤตยา อาชวนิจกุล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
6.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7.
พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8.
นิติ ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9.
เวียงรัฐ เนติโพธิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.
จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13.
นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15.
ธนาพล ลิ่มอภิชาต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16.
เกษม เพ็ญภินันท์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18.
จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
19.
ชลธิศ ธีระฐิติ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
20.
วิโรจน์ อาลี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
21.
ประจักษ์ ก้องกีรติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
22.
วรรณภา ตีระสังขะ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
23.
จันจิรา สมบัติพูนสิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
24.
วสันต์ เหลืองประภัสสร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
25.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
26.
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
27.
ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
28.
สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
29.
ปิยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
30.
ปูนเทพ ศิรินุพงศ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
31.
กริช ภูญีญามา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
32.
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
33.
ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
34.
อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
35.
สลิสา ยุกตะนันทน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
36.
พรรณราย โอสถาภิรัตน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
37.
สุธิดา วิมุตติโกศล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
38.
ปกป้อง จันวิทย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
39.
อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
40.
ธร ปีติดล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
41.
วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
42.
ปัทมาวดี โพชนุกูล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
43.
พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
44.
ศุภวิทย์ ถาวรบุตร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
45.
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
46.
ธาริตา อินทนาม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
47.
สร้อยมาศ รุ่งมณี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
48.
อรอนงค์ ทิพย์พิมล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
49.
วันรัก สุวรรรณวัฒนา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
50.
ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
51.
ประไพพิศ มุทิตาเจริญ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
52.
พรทิพย์ สัมปัตตะวนิช คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
53.
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
54.
วสันต์ ปัญญาแก้ว คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
55.
วัฒนา สุกัณศีล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
56.
อรัญญา ศิริผล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
57.
พศุตม์ ลาศุขะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
58.
พงษ์ศักดิ์ รัตนวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
59.
อิสราภรณ์ พิศสะอาด คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
60.
อนุสรณ์ ติปยานนท์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
61.
ศุภชัย ศุภผล คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
62.
มาลินี คุ้มสุภา
63.
วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
64.
จุฑามณี สามัคคีนิชย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
65.
วัชรพล ศุภจักรวัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
66.
ทวีศักดิ์ เผือกสม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
67.
เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
68.
สิรักข์ แก้วจำนงค์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
69.
พิพัฒน์ สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
70.
บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
71.
ภาคิไนย์ ชมสินทรัพย์มั่น คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
72.
สุรัช คมพจน์ หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
73.
ตฤณ ไอยะรา หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
74.
อุเชนทร์ เชียงเสน หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
75.
อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
76.
ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
77.
นฤมล กล้าทุกวัน หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
78.
รจเรศ ณรงค์ราช สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
79.
อันธิฌา แสงชัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
80.
อลิสา หะสาเมาะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
81.
ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
82.
อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
83.
หนึ่งกมล พิพิธภัณฑ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
84.
ดุษณ์ดาว เลิศพิพัฒน์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
85.
กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
86.
สมัชชา นิลปัทม์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
87.
สุรัยยา สุไลมาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
88.
อามีนี สะอีดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
89.
ปิง วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
90.
ฮาฟีส สาและ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
http://prachatai.com/journal/2013/12/50227?utm_source=feedburner&utm_medium=feed&utm_campaign=Feed%3A+prachatai+%28%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97+Prachatai.com%29
135 คณาจารย์ ชี้ 4 ข้อ ปัญหาท่าทีที่ประชุมอธิการบดี
จดหมายเปิดผนิดดังกล่าวมีเนื้อหา ดังนี้
จดหมายเปิดผนึกจากคณาจารย์กลุ่มหนึ่งต่อท่าทีของที่ประชุมอธิการบดีในสถานการณ์วิกฤติการเมือง
เรียนที่ประชุมอธิการบดี
ข้าพเจ้าผู้มีรายนามดังต่อไปนี้ มีความเห็นว่าท่าทีของที่ประชุมอธิการบดี (ทปอ.)
ในสถานการณ์วิกฤติการเมืองในห้วงเวลานี้ไม่ได้สะท้อนความเป็นตัวแทนของประชาคมทางวิชาการของประเทศ และไม่ได้คำนึงถึงประโยชน์ต่อสังคมในระยะยาว ด้วยเหตุผลสี่ประการ
1. ในการประชุมและการแถลงท่าทีของ ทปอ.ต่อสถานการณ์ทางการเมือง ทปอ.ได้จัดการประชุมกันเอง โดยไม่ได้จัดรับฟังความเห็นและข้อถกเถียงจากประชาคมมหาวิทยาลัยของตนเองเลย การบริหารของมหาวิทยาลัยแต่ละแห่งนั้นมีโครงสร้างการบริหารจัดการที่ซับซ้อนและคำนึงถึงหลักธรรมาภิบาล โดยเฉพาะหลักการมีส่วนร่วมและพร้อมรับผิดชอบ (accountability) มิได้ปล่อยให้อธิการบดีเอาความเป็นสถาบัน และภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยออกไปใช้ในทางการเมืองโดยไม่ฟังเสียงประชาคมของมหาวิทยาลัย ไม่ว่าจะเป็นคณาจารย์ เจ้าหน้าที่ และ นิสิตนักศึกษา
2. การนำเสนอความเห็นต่อสถานการณ์การเมืองของ ทปอ.ในระยะที่ผ่านมา โดยเฉพาะการนำเสนอทางออกต่อวิกฤติทางการเมืองโดยการนำเสนอเรื่องของรัฐบาลรักษาการที่เป็นกลาง มีแนวโน้มที่จะขัดต่อหลักการและเจตจำนงของรัฐธรรมนูญเนื่องจากขาดการยึดโยงกับหลักการประชาธิปไตย ที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดแจ้ง ไม่ว่าจะเป็นหลักของความเป็นตัวแทนจากการเลือกตั้งและเสียงข้างมาก อีกทั้งยังขัดต่อหลักนิติธรรมเองในแง่ของความถูกต้องทางกฎหมายและตามขั้นตอนของกฎหมาย การนำเสนอความเห็นจากที่ประชุมอธิการบดีไม่ได้สะท้อนให้เห็นถึงความพยายามอย่างถึงที่สุดที่จะผดุงไว้ซึ่งหลักการประชาธิปไตยที่ระบุไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดแจ้ง กลับเปิดทางให้เกิดการตีความที่คลุมเครือและสุ่มเสี่ยงทีจะเกี่ยวพันกับเงื่อนไขนอกวิถีทางของรัฐธรรมนูญและประชาธิปไตย
3. ข้อเสนอของ ทปอ.ที่ผ่านมา ส่งผลต่อประโยชน์และความได้เปรียบทางการเมืองของกลุ่มการเมืองบางกลุ่มอย่างชัดเจน ปัญหาสำคัญในเรื่องนี้คือ นอกจากนำเอามหาวิทยาลัยซึ่งเป็นสถาบันสาธารณะเข้าไปเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งทางการเมืองแล้ว ทปอ. ซึ่งเป็นการรวมตัวกันอย่างไม่มีกฎหมายรองรับ ยังไม่ได้ปกป้องการทำหน้าที่หลักของมหาวิทยาลัย นั่นคือการให้บริการการเรียนการสอนต่อนิสิตนักศึกษาของตน เมื่อเกิดความขัดแย้งทางการเมืองจนถึงขั้นที่มีแนวโน้มหรือมีการใช้ความรุนแรงบนท้องถนน ผู้บริหารสถาบันการศึกษาและที่ประชุม ทปอ.ควรแถลงเรียกร้องให้กลุ่มต่างๆ จำกัดพื้นที่ความขัดแย้งทางการเมืองไม่ให้กระทบต่อความปลอดภัยของประชาคมมหาวิทยาลัย เพื่อให้ทำการเรียนการสอนดำเนินได้อย่างปกติ ผู้บริหารมหาวิทยาลัยควรยืนหยัดต่อเจตนารมณ์ดังกล่าว และเตือนสติขั้วขัดแย้งทางการเมืองให้ตระหนักถึงความปลอดภัยและความสงบเรียบร้อยของสังคมเป็นสำคัญ การประกาศงดการเรียนการสอนเพื่อความปลอดภัยต่อประชาคมมหาวิทยาลัยนั้นเป็นสิ่งที่ควรกระทำ แต่ก็ต้องตระหนักถึงผลกระทบที่ตามมาว่าการประกาศงดการเรียนการสอนในบางกรณีนั้นอาจกลายเป็นเครื่องมือสนับสนุนการเคลื่อนไหวของกลุ่มการเมืองบางกลุ่มได้เช่นกัน
4. ทปอ. ต้องเข้าใจว่ามหาวิทยาลัยต้องมีความเป็นกลางทางการเมืองและช่วยนำพาสังคมข้ามพ้นจากวิกฤติทางการเมืองในระยะยาว ซึ่งหมายความว่ามหาวิทยาลัยจะต้องคำนึงถึงความหลากหลายของความคิดเห็นและเสรีภาพทางวิชาการของประชาคมของตน และของสังคมโดยรวม การที่ทปอ.นำมหาวิทยาลัยไปผูกอยู่กับจุดยืนทางการเมืองของผู้บริหารมหาวิทยาลัยบางคน จึงเป็นเรื่องน่าเป็นห่วงอย่างยิ่ง เพราะจะเป็นอุปสรรคต่อการสร้างบรรยากาศที่เชิดชูเสรีภาพและความหลากหลายทางความคิด และความอดทนอดกลั้นของประชาคมมหาวิทยาลัยและผู้คนในสังคม อันเป็นเงื่อนไขสำคัญที่จะนำพาสังคมข้ามพ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองเฉพาะหน้า และจะทำให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันสาธารณะที่รับผิดชอบต่อสังคมในระยะยาว
รายชื่อคณาจารย์
1.
ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2.
เกษียร เตชะพีระ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
3.
ไชยันต์ รัชชกูล คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
4.
สุรชาติ บำรุงสุข คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5.
กฤตยา อาชวนิจกุล สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
6.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
7.
พวงทอง ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
8.
นิติ ภวัครพันธุ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9.
เวียงรัฐ เนติโพธิ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
10.
จักรกริช สังขมณี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
11.
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
12.
สิริพรรณ นกสวน สวัสดี คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
13.
นฤมล ทับจุมพล คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14.
โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
15.
ธนาพล ลิ่มอภิชาต คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
16.
เกษม เพ็ญภินันท์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
17.
ประภาส ปิ่นตบแต่ง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
18.
จิราพร เหล่าเจริญวงศ์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
19.
ชลธิศ ธีระฐิติ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
20.
วิโรจน์ อาลี คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
21.
ประจักษ์ ก้องกีรติ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
22.
วรรณภา ตีระสังขะ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
23.
จันจิรา สมบัติพูนสิริ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
24.
วสันต์ เหลืองประภัสสร์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
25.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
26.
จันทจิรา เอี่ยมมยุรา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
27.
ธีระ สุธีวรางกูร คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
28.
สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
29.
ปิยบุตร แสงกนกกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
30.
ปูนเทพ ศิรินุพงศ์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
31.
กริช ภูญีญามา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
32.
ฐาปนันท์ นิพิฏฐกุล คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
33.
ยุกติ มุกดาวิจิตร คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
34.
อนุสรณ์ อุณโณ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
35.
สลิสา ยุกตะนันทน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
36.
พรรณราย โอสถาภิรัตน์ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
37.
สุธิดา วิมุตติโกศล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
38.
ปกป้อง จันวิทย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
39.
อภิชาต สถิตนิรามัย คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
40.
ธร ปีติดล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
41.
วรรณวิภางค์ มานะโชติพงษ์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
42.
ปัทมาวดี โพชนุกูล คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
43.
พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ เศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
44.
ศุภวิทย์ ถาวรบุตร คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
45.
กรพนัช ตั้งเขื่อนขันธ์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
46.
ธาริตา อินทนาม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
47.
สร้อยมาศ รุ่งมณี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
48.
อรอนงค์ ทิพย์พิมล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
49.
วันรัก สุวรรรณวัฒนา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
50.
ชูศักดิ์ ภัทรกุลวณิชย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
51.
ประไพพิศ มุทิตาเจริญ คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
52.
พรทิพย์ สัมปัตตะวนิช คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
53.
ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
54.
วสันต์ ปัญญาแก้ว คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
55.
วัฒนา สุกัณศีล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
56.
อรัญญา ศิริผล คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
57.
พศุตม์ ลาศุขะ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
58.
พงษ์ศักดิ์ รัตนวงศ์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
59.
อิสราภรณ์ พิศสะอาด คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
60.
อนุสรณ์ ติปยานนท์ คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
61.
ศุภชัย ศุภผล คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
62.
มาลินี คุ้มสุภา
63.
วัชรพล พุทธรักษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
64.
จุฑามณี สามัคคีนิชย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
65.
วัชรพล ศุภจักรวัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
66.
ทวีศักดิ์ เผือกสม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
67.
เอกพลณัฐ ณัฐพัทธนันท์ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
68.
สิรักข์ แก้วจำนงค์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
69.
พิพัฒน์ สุยะ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
70.
บุญส่ง ชัยสิงห์กานานนท์ ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
71.
ภาคิไนย์ ชมสินทรัพย์มั่น คณะมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี
72.
สุรัช คมพจน์ หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
73.
ตฤณ ไอยะรา หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
74.
อุเชนทร์ เชียงเสน หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
75.
อรรถสิทธิ์ สิทธิดำรง หลักสูตรรัฐศาสตร์ สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
76.
ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
77.
นฤมล กล้าทุกวัน หลักสูตรภูมิภาคศึกษา สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
78.
รจเรศ ณรงค์ราช สำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
79.
อันธิฌา แสงชัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
80.
อลิสา หะสาเมาะ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
81.
ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
82.
อสมา มังกรชัย คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
83.
หนึ่งกมล พิพิธภัณฑ์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
84.
ดุษณ์ดาว เลิศพิพัฒน์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
85.
กุสุมา กูใหญ่ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
86.
สมัชชา นิลปัทม์ คณะวิทยาการสื่อสาร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
87.
สุรัยยา สุไลมาน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ว.ปัตตานี
88.
อามีนี สะอีดี คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
89.
ปิง วิชัยดิษฐ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
90.
ฮาฟีส สาและ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
http://prachatai.com/journal/2013/12/50227?utm_source=feedburner&utm_medium=feed&utm_campaign=Feed%3A+prachatai+%28%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97+Prachatai.com%29