คำถาม - ระบบสภาประชาชน เหมือนหรือต่างจากระบบ communisity อย่างไร?

สุเทพก็เคยหนีเข้าป่า อาจจะซึมซับหลักการอะไรบางอย่างมา

http://www.oknation.net/blog/vihokradio/2013/11/29/entry-4

          ส่วนระบอบการปกครองคอมมิวนิสต์ หรือถูกพัฒนามาเป็นระบอบสังคมนิยม ไม่ว่าจะเป็น ฮังการี จีน บาวาเลีย รัสเซีย ซึ่งทุกครั้งที่จะเกิดสภาประชาชนในประเทศเหล่านี้ ก็จะเกิดปรากฎการณ์ทางการเมืองคือ ทฤษฏีเรดการ์ด จนเกิดการเปลี่ยนการปกครอง มีการตั้งสภาถูกเรียกว่า " สภาประชาชน " หรือสภาที่มาจากตัวแทนภาคประชาชนทุกชนชั้น มีลักษณะโครงสร้างที่ต่างกับไทยกันตรง ประมุขประเทศคือ ประธานาธิบดี นี้คือโครงสร้างพื้นฐานตามหลักการปกครองในเชิงรัฐศาสตร์เบื้องต้น ที่คนที่จะพูดเรื่องการเมือง พึงต้องเข้าใจศึกษาให้ถ่องแท้

         "สภาประชาชนที่เกิดขึ้นในเยอรมันตะวันออก ก่อนที่จะมารวมกับเยอรมันตะวันตก ประชาชนออกมาคัดค้าน เรียกร้อง และยึดสถานที่ราชการทั่วประเทศ ประชาชนเดินไปพร้อมประกาศว่าเราคือประชาชน เป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย ในที่สุดยึดสถานที่ราชการ หน่วยราชการ รัฐวิสาหกิจทำการไม่ได้ เพราะเจ้าหน้าที่เห็นด้วยกับประชาชน ก็หยุดการรับฟังคำสั่งของอำนาจรัฐส่วนกลาง ในที่สุดจัดตั้งสภาประชาชนขึ้น มีสมาชิกทั้งหมด 37 คน ประกอบด้วยตัวแทนอาชีพต่างๆ ให้มีตัวแทนของรัฐบาลเพียงคนเดียว ร่วมกันปฏิรูปการปกครองของรัฐบาลเยอรมันตะวันออก โดยมีรูปแบบการปกครองเป็นสังคมนิยมเช่นกัน


คำถาม - ระบบสภาประชาชน เหมือนหรือต่างจากระบบ communisity อย่างไร?
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่