ลองอ่านข่าวเก่าๆ "อองซาน ซูจี ชี้ไทยคือตัวอย่างวิกฤตเสถียรภาพรัฐบาลที่อยู่ใต้รัฐธรรมนูญโดยทหาร"

กระทู้สนทนา
‘Thai crisis shows perils of military constitution’

‘Thai crisis shows perils of military constitution’

* Suu Kyi’s party criticises election plans
* New govt unable to handle crises, says Nyan Win

YANGON: Thailand’s political crisis shows that a constitution drawn up by the military can never deliver stability, Myanmar opposition leader Aung San Suu Kyi said Saturday, according to her party.

Myanmar’s military junta, which has ruled for nearly half a century, produced a new constitution as part of a “road map to democracy” which includes elections due to be held later this year.

The election plans have been widely criticised and subject to a boycott by Suu Kyi’s party, the National League for Democracy (NLD), which would have had to expel its leader if it wanted to take part.

NLD spokesman Nyan Win said that in a meeting Saturday with Suu Kyi, she discussed the situation in Thailand, which has been wracked by crises since a 2006 coup ejected Prime Minister Thaksin Shinawatra.

New Gov: “A new government coming to power under a constitution drawn up by the military will never be stable,” he cited her as saying.

“We do not need to see very far. We just see Thailand,” she said. “Thaksin was an elected person. The military seized the power from an elected person. The constitution was drawn up by the military,” she said.

“After that, what happened with the first (government)? It was not stable,” she said of the short-lived administration that followed the coup. “This was a result of the constitution being written by the military.” Nyan Win said Suu Kyi was not giving an opinion on the rights and wrongs of the conflict in Thailand, where red-shirted campaigners largely loyal to Thaksin are calling for the ouster of Prime Minister Abhisit Vejjajiva.

Abhisit’s army-backed administration was appointed in a parliamentary vote after a court ruling ousted Thaksin’s allies.

The Reds are also calling for the restoration of a 1997 pro-democracy constitution which preceded the rise to power of Thaksin, who is now living in exile to avoid a jail sentence for corruption. afp

http://www.dailytimes.com.pk/default.asp?page=20100425story_25-4-2010_pg20_4

อองซาน ซูจี ชี้ไทยคือตัวอย่างวิกฤตเสถียรภาพรัฐบาลที่อยู่ใต้รัฐธรรมนูญโดยทหาร

Sun, 2010-04-25 00:20

เว็บไซต์หนังสือพิมพ์สเตรทไทม์ของ สิงคโปร์รายงานโดยอ้างการนำเสนอของ AFP ว่าวานนี้ (24 เม.ย.) นางอองซาน ซูจี ผู้นำพรรคฝ่ายค้านของพม่า วิพากษ์วิกฤตการเมืองไทยเป็นสิ่งสะท้อนว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกเขียนโดยทหารทำ ให้รัฐบาลขาดเสถียรภาพ พร้อมวิจารณ์การรัฐประหารปี 2549 ว่าเป็นการยึดอำนาจจากอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ซึ่งเป็นผู้นำที่ได้รับการเลือกตั้ง

ย่างกุ้ง-วิกฤตการเมืองไทยได้แสดงให้เห็นแล้วว่า รัฐธรรมนูญที่เขียนขึ้โดยทหารนั้นไม่สามารถนำมาซึ่งเสถียรภาพได้ นางอองซาน ซูจี ผู้นำฝ่ายค้านของพม่ากล่าวกับสมาชิกพรรคเมื่อวันเสาร์ที่ผ่านมา

รัฐบาลทหารพม่า ซึ่งปกครองประเทศมาเป็นเวลากว่าครึ่งศตวรรษ ได้สร้างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ้นมาเพื่อเป็นส่วนหนึ่งของโรดแมปประชาธิปไตย ซึ่งรวมถึงการเลือกตั้งที่จะมีขึ้นในปีนี้

ทั้งนี้ แผนการเลือกตั้งในพม่าถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางและมีถูกบอยคอตจาก พรรคของเอ็นแอลดี ซึ่งนำโดยนางซูจี (ซึ่งจะต้องขับหัวหน้าพรรคออกหากอยากเข้าร่วมในการเลือกตั้ง)

นาย ยัน วิน โฆษกพรรคเอ็นแอลดีแถลงในการพบปะกับนางซูจีในการประชุมพรรคเมื่อวันเสาร์ที่ ผ่านมาว่า นางซูจีได้ถกถึงสถานการณ์ในประเทศไทยซึงประสบกับความเสียหายอย่างต่อเนื่อง จากการรัฐประหารเมื่อปี 2549 ซึ่งโค่นอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตรลง

"รัฐบาลใหม่เข้าสู่อำนาจภายใต้รัฐธรรมนูญที่เขียนขึ้นโดยทหารไม่มีวันที่ จะมีเสถียรภาพ" ยัน วิน อ้างคำกล่าวของนางซูจี

"เราไม่ต้องไปมองอื่นไกล แค่มองประเทศไทยก็พอ" นางซูจีกล่าวและว่า

"ทักษิณคือผู้นำที่ได้รับการเลือกตั้ง ทหารยึดอำนาจจากผู้ที่ได้รับการเลือกตั้ง รัฐธรรมนูญถูกเขียนขึ้นโดยทหาร แล้วจะเกิดอะไรขึ้นกับรัฐบาลคณะแรก? มันจะไม่มีเสถียรภาพ นี่เป็นผลจากการที่รัฐธรรมนูญถูกเขียนขึ้นโดยทหาร" นางซูจีกล่าว

ยัน วิน ระบุว่า นางซูจีไม่ได้ให้ความเห็นเกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมืองไทยที่เกิดขึ้นว่า เป็นเรื่องถูกหรือผิดที่ฝ่ายคนเสื้อแดงซึ่งเป็นผู้นิยมทักษิณชุมนุมขับไล่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
แสดงความคิดเห็น
โปรดศึกษาและยอมรับนโยบายข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเริ่มใช้งาน อ่านเพิ่มเติมได้ที่นี่