ความเป็นมา
จากการที่ สพ.ทบ. ได้ออกตรวจซ่อม ปลย.11 ตามหน่วยใช้ต่างๆ ปรากฎว่า ปลย.11 มีข้อบกพร่องที่เหมือนกันในหลายๆ หน่วย เช่น การคัดปลอกกระสุนติดขัด ระบบการปลอดกลอนลูกเลื่อนผิดพลาด เป็นต้น หน่วยใช้มักจะเปรียบ ปลย.11 กับ ปลย.เอ็ม 16 และมีความต้องการให้เปลี่ยนคันรั้งให้อยู่ทางขวาตามความถนัดในการใช้งาน ในปี พ.ศ.2529 คณะนายทหารของ กพส.ศอ.สพ.ทบ. โดย พ.ท.ธีระ เจริญเอม (ยศในขณะนั้น) เป็นหัวหน้าชุด จึงริเริ่มดำเนินการวิจัยพัฒนา ปลย.11 ให้สามารถตอบสนองความต้องการของหน่วยใช้ โดยนาเอาข้อดีของกลไก ปลย. แบบ ต่างๆ เข้ามาผสมผสานกันคือ
- ระบบขัดกลอนแบบลูกกลิ้งขัดกลอนใช้ของ ปลย.11
- ระบบปลดกลอน ใช้ระบบปลดกลอนด้วยแก๊ส ของ ปลย. AK-47 มาใช้แทนการปลดกลอนด้วยระบบ DELAY BLOW BACK ของ ปลย.11
- ระบบพานท้ายใช้ของ ปลย.เอ็ม 16 แบบสั้น
ซึ่งได้ออกแบบสาเร็จและเริ่มผลิตต้นแบบ เมื่อ 27 ก.ค.29 โดย กชส.ศอ.สพ.ทบ. ได้สนับสนุนอุปกรณ์และเครื่องมือตลอดจนแรงงาน จนสำเร็จ จานวน 1 กระบอก ตั้งชื่อว่า ปลย. ต้นแบบ สพ.1-29 ได้ทาการทดสอบการทางานขั้นต้นจนได้ผลเป็นที่พอใจ จึงได้รายงาน จก.สพ.ทบ. เมื่อ 18 ก.ย.29 เพื่อขออนุมัติสร้าง ปลย. แบบใหม่ สาหรับส่งให้หน่วยทาการทดสอบและทดลองใช้งาน ซึ่ง จก.สพ.ทบ. ได้อนุมติ เมื่อ 11 ก.พ.30 ให้ กชส.ศอ.สพ.ทบ.สนับสนุนการสร้างต้นแบบ จานวน 10 กระบอก โดยใช้เงินนอกหน่วยงบประมาณ จานวน 10,000.- บาท ได้ทาการผลิตต้นแบบเสร็จ เมื่อ 25 พ.ค.30 จึงได้รายงาน จก.สพ.ทบ. เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการทดสอบ เมื่อ 24 พ.ย.30 โดยมี พ.อ. จตุรงค์ ปาลกะวงษ์ ณ อยุทธยา (ยศในขณะนั้น) เป็นประธานคณะกรรมการทดสอบ ได้รายงานขออนุมัติใช้กระสุน 5.56 มม. สำหรับทดสอบ จำนวน 9,000 นัด แต่ สพ.ทบ.ไม่สนับสนุนกระสุนทดสอบได้การทดสอบจึงได้ระงับไป ต่อมา จก.สพ.ทบ. ได้มีคำสั่ง สพ.(ลับเฉพาะ) ที่ 98/31 ลง 14 ธ.ค.31 จัดตั้งชุดทางานเพื่อการวิจัยและพัฒนาอาวุธกลและกระสุนอาวุธเบาของ สพ.ทบ. โดยมี พล.ต.นพชเลศ บุรณศิริ ผช.จก.สพ.ทบ. เป็นหัวหน้าชุดทำงาน เพื่อเร่งรัดให้การวิจัยและพัฒนากระสุนและอาวุธเบาของ สพ.ทบ. ที่ดำเนินการอยู่ให้ได้ผลเร็ว ซึ่งชุดทำงานได้เร่งรัดการพัฒนาและปรับปรุง ปลย.ต้นแบบในขั้น ASSAULT RIFLE เพื่อให้คณะกรรมการในระดับ สพ.ทบ. ทดสอบ จำนวน 2 กระบอก และได้กำหนดชื่อปืนใหม่ตามระบบการเรียกชื่อปืนต้นแบบว่า ปลย.11 – ตส.1
สพ.ทบ. ได้ดำเนินแก้ไขและให้คณะกรรมการฯ นำไปทดสอบใหม่ เมื่อ 30 ก.ค.- 5 ส.ค.38 ผลการทดสอบปรากฏว่า
- ความแม่นยำ ทำการยิงในระยะ 25 , 250 , 350 , 450 , 550 , 650 และ 800 มม. ผลปรากฏว่า มีความแม่นยำในระยะ 100 ม. ลงมาเท่านั้น
- ความทนทาน ไม่สามารถทำการยิงภายหลังการคลุกทราย , จุ่มโคลนและแช่น้า
- ความปลอดภัย การทำงานของลูกเลื่อนเมื่อทำการยิง ลูกเลื่อนจะเปิดและลูกเลื่อนแขวน ทำให้ไม่สามารถรู้ว่าได้ยิงกระสุนหมดซองแล้ว ซึ่งเป็นอันตรายกับผู้ยิง สวพ.ทบ. ได้เชิญหน่วยที่เกี่ยวข้องประชุมพิจารณาผลการทดสอบ เมื่อ 25 ธ.ค.38 ที่ประชุมเห็นว่า จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ปลย.11 – ตส.1 ยังปรากฏข้อบกพร่องอีกมากไม่อาจจะนำไปใช้งานได้ตามความมุ่งหมาย จึงไม่ยอมรับในผลงานวิจัย แต่ถือว่าวิจัยสาเร็จในระดับหนึ่ง และให้เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยไว้ใช้ประโยชน์ต่อไป
มาถึงตรงนี้ ก็ได้แต่ร้อง เฮ้อ....... ทำไม ทบ.ถอดใจง่ายจัง ไม่ยอมสนับสนุนต่อ
ปลย. 11 ตส.1 ไรเฟิลจู่โจมของไทย
ความเป็นมา
จากการที่ สพ.ทบ. ได้ออกตรวจซ่อม ปลย.11 ตามหน่วยใช้ต่างๆ ปรากฎว่า ปลย.11 มีข้อบกพร่องที่เหมือนกันในหลายๆ หน่วย เช่น การคัดปลอกกระสุนติดขัด ระบบการปลอดกลอนลูกเลื่อนผิดพลาด เป็นต้น หน่วยใช้มักจะเปรียบ ปลย.11 กับ ปลย.เอ็ม 16 และมีความต้องการให้เปลี่ยนคันรั้งให้อยู่ทางขวาตามความถนัดในการใช้งาน ในปี พ.ศ.2529 คณะนายทหารของ กพส.ศอ.สพ.ทบ. โดย พ.ท.ธีระ เจริญเอม (ยศในขณะนั้น) เป็นหัวหน้าชุด จึงริเริ่มดำเนินการวิจัยพัฒนา ปลย.11 ให้สามารถตอบสนองความต้องการของหน่วยใช้ โดยนาเอาข้อดีของกลไก ปลย. แบบ ต่างๆ เข้ามาผสมผสานกันคือ
- ระบบขัดกลอนแบบลูกกลิ้งขัดกลอนใช้ของ ปลย.11
- ระบบปลดกลอน ใช้ระบบปลดกลอนด้วยแก๊ส ของ ปลย. AK-47 มาใช้แทนการปลดกลอนด้วยระบบ DELAY BLOW BACK ของ ปลย.11
- ระบบพานท้ายใช้ของ ปลย.เอ็ม 16 แบบสั้น
ซึ่งได้ออกแบบสาเร็จและเริ่มผลิตต้นแบบ เมื่อ 27 ก.ค.29 โดย กชส.ศอ.สพ.ทบ. ได้สนับสนุนอุปกรณ์และเครื่องมือตลอดจนแรงงาน จนสำเร็จ จานวน 1 กระบอก ตั้งชื่อว่า ปลย. ต้นแบบ สพ.1-29 ได้ทาการทดสอบการทางานขั้นต้นจนได้ผลเป็นที่พอใจ จึงได้รายงาน จก.สพ.ทบ. เมื่อ 18 ก.ย.29 เพื่อขออนุมัติสร้าง ปลย. แบบใหม่ สาหรับส่งให้หน่วยทาการทดสอบและทดลองใช้งาน ซึ่ง จก.สพ.ทบ. ได้อนุมติ เมื่อ 11 ก.พ.30 ให้ กชส.ศอ.สพ.ทบ.สนับสนุนการสร้างต้นแบบ จานวน 10 กระบอก โดยใช้เงินนอกหน่วยงบประมาณ จานวน 10,000.- บาท ได้ทาการผลิตต้นแบบเสร็จ เมื่อ 25 พ.ค.30 จึงได้รายงาน จก.สพ.ทบ. เพื่อแต่งตั้งคณะกรรมการทดสอบ เมื่อ 24 พ.ย.30 โดยมี พ.อ. จตุรงค์ ปาลกะวงษ์ ณ อยุทธยา (ยศในขณะนั้น) เป็นประธานคณะกรรมการทดสอบ ได้รายงานขออนุมัติใช้กระสุน 5.56 มม. สำหรับทดสอบ จำนวน 9,000 นัด แต่ สพ.ทบ.ไม่สนับสนุนกระสุนทดสอบได้การทดสอบจึงได้ระงับไป ต่อมา จก.สพ.ทบ. ได้มีคำสั่ง สพ.(ลับเฉพาะ) ที่ 98/31 ลง 14 ธ.ค.31 จัดตั้งชุดทางานเพื่อการวิจัยและพัฒนาอาวุธกลและกระสุนอาวุธเบาของ สพ.ทบ. โดยมี พล.ต.นพชเลศ บุรณศิริ ผช.จก.สพ.ทบ. เป็นหัวหน้าชุดทำงาน เพื่อเร่งรัดให้การวิจัยและพัฒนากระสุนและอาวุธเบาของ สพ.ทบ. ที่ดำเนินการอยู่ให้ได้ผลเร็ว ซึ่งชุดทำงานได้เร่งรัดการพัฒนาและปรับปรุง ปลย.ต้นแบบในขั้น ASSAULT RIFLE เพื่อให้คณะกรรมการในระดับ สพ.ทบ. ทดสอบ จำนวน 2 กระบอก และได้กำหนดชื่อปืนใหม่ตามระบบการเรียกชื่อปืนต้นแบบว่า ปลย.11 – ตส.1
สพ.ทบ. ได้ดำเนินแก้ไขและให้คณะกรรมการฯ นำไปทดสอบใหม่ เมื่อ 30 ก.ค.- 5 ส.ค.38 ผลการทดสอบปรากฏว่า
- ความแม่นยำ ทำการยิงในระยะ 25 , 250 , 350 , 450 , 550 , 650 และ 800 มม. ผลปรากฏว่า มีความแม่นยำในระยะ 100 ม. ลงมาเท่านั้น
- ความทนทาน ไม่สามารถทำการยิงภายหลังการคลุกทราย , จุ่มโคลนและแช่น้า
- ความปลอดภัย การทำงานของลูกเลื่อนเมื่อทำการยิง ลูกเลื่อนจะเปิดและลูกเลื่อนแขวน ทำให้ไม่สามารถรู้ว่าได้ยิงกระสุนหมดซองแล้ว ซึ่งเป็นอันตรายกับผู้ยิง สวพ.ทบ. ได้เชิญหน่วยที่เกี่ยวข้องประชุมพิจารณาผลการทดสอบ เมื่อ 25 ธ.ค.38 ที่ประชุมเห็นว่า จากผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ปลย.11 – ตส.1 ยังปรากฏข้อบกพร่องอีกมากไม่อาจจะนำไปใช้งานได้ตามความมุ่งหมาย จึงไม่ยอมรับในผลงานวิจัย แต่ถือว่าวิจัยสาเร็จในระดับหนึ่ง และให้เก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยไว้ใช้ประโยชน์ต่อไป
มาถึงตรงนี้ ก็ได้แต่ร้อง เฮ้อ....... ทำไม ทบ.ถอดใจง่ายจัง ไม่ยอมสนับสนุนต่อ