อยากจะปรึกษาหน่อยคะว่า แต่ละสายในรายละเอียดข้างล่างอะคะ เรียนยังไงบ้าง แล้วแต่ละสายไปประกอบอาชีพทางด้านไหนได้บ้างคะ ขอละเอียดๆหน่อยนะคะ เพื่อในการตัดสินใจคะ
ปล. ในการเลือกสายไม่จำเป็นต้องเลือกสายเดียวนะคะ สามารถเลือกเรียนวิชาของสายอื่นได้ อยากรู้ด้วยว่า ตอนนี้ที่ไทยควรที่จะต้องรู้อะไรด้วยเพื่อการประกอบอาชีพคะ
1. สายวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (CS)
- ทฤษฏีคอมไพเลอร์ (THEORY OF COMPILER)
- การจำลองแบบ (Simulation)
- ทฤษฏีออโตมาตาและโปรแกรม (AUTOMATA THEORY AND PROGRAMMING LANGUAGES)
- แบบจำลองและกรรมวิธีการวิจัยการดำเนินงาน (MODELS AND METHODS OF OPERATION RESEARCH)
- การคำนวณแบบเครือข่าย (NET CENTRIC COMPUTING)
- การคำนวณแบบไร้สายและแบบเคลื่อนที่ (WIRELESS AND MOBILE COMPUTING)
- การคำนวณแบบคลัสเตอร์ (CLUSTER COMPUTING)
- การบริหารเครือข่าย (NETWORK MANAGEMENT)
- การรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย (NETWORK SECURITY)
- การคำนวณเชิงคอมโพเนนต์ (COMPONENT-BASED COMPUTING)
- ทฤษฏีข่าวสารและเข้ารหัส (CODING AND INFORMATION THEORY)
- การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธีขั้นสูง (ADVANCED ALGORITHM ANALYSIS AND DESIGN)
- การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะและเชิงหน้าที่ (LOGIC AND FUNCTIONAL PROGRAMMING)
- ขั้นตอนวิธีแบบขนาน (PARALLEL ALGORITHMS)
- สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (ADVANCED COMPUTER ARCHITECTURE)
- สถาปัตยกรรมคอพิวเตอร์แบบขนาน (PARALLEL COMPUTER ARCHITECTURE)
- ระบบปฏิบัติการแบบกระจาย (DISTRIBUTED OPERATING SYSTEMS)
- ขั้นตอนวิธีเชิงรหัสลับ (CRYPTOGRAPHY ALGORITHMS)
- การคำนวณแบบซอฟต์ (SOFT COMPUTING)
- ความปลอกภัยของระบบคอมพิวเตอร์ (SYSTEM SECURITY)
- การเรียนรู้ของเครื่องจักร (MACHINE LEARNING)
- การโปรแกรมระบบเครือข่าย (NETWORK PROGRAMMING)
- ระบบฝังตัวและระบบเวลาจริง (EMBEDDED AND REAL-TIME SYSTEMS)
- โครงข่ายประสาทเทียมเบื้องต้น (INTRODUCTION TO ARTIFICIAL NEURAL NETWORKS)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
2. สาขาวิขาวิศวกรรมซอฟแวร์ (SE)
- การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (SYSTEM ANALYSIS AND DESIGN)
- การออกแบบสถาปัตยกรรมซอฟแวร์ (SOFTWARE ARCHITECTURAL DESIGN)
- ข้อกำหนดลักษณะเฉพาะเชิงรูปนัย (FORMAL SPECIFICATION)
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์เชิงประจักษ์ (EMPIRICAL SOFTWARE ENGINEERING)
- การปรับปรุงกระบวนการซอฟแวร์ (SOFTWARE PROCESS IMPROVEMENT)
- วิศวกรรมซอฟต์แวร์ของระบบฝังตัว (SOFTWARE ENGINEERING FOR EMBEDED SYSTEMS)
- การทดสอบซอฟต์แวร์ (SOFTWARE TESTING)
- การทดสอบและตรวจสอบซอฟแวร์ (SOFTWARE VERIFICATION AND VALIDATION)
- มาตรวัดซอฟแวร์เชิงวัตถุ (OBJECT-ORIENTED SOFTWARE METRICS)
- การกำหนดและจัดการความต้องการทางซอฟต์แวร์ (SOFTWARE REQUIREMENT SPECIFICATION AND MANAGEMENT)
- การพัฒนาซอฟแวร์เชิงคอมโพเนนต์ (COMPONENT-BASED SOFTWARE DEVELOPMENT)
- กระบวนการซอฟแวร์และการประกันคุณภาพ (SOFTWARE PROCESS AND QUALITY ASSURANCE)
- การจัดการโครงแบบซอฟต์แวร์ (SOFTWARE CONFIGURATION MANAGEMENT)
- การจัดการโครงการซอฟต์แวร์ (SOFTWARE PROJECT MANAGEMENT)
- การพัฒนาและปรับปรุงซอฟแวร์ (SOFTWARE CONSTRUCTION AND EVOLUTION)
- สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์(SOFTWARE ARCHITECTURE)
3. สายวิชาพัฒนาระบบสารสนเทศ (IS)
- การสร้างคลังข้อมูลและการทำเหมืองข้อมูล (DATA WAREHOUSING AND DATA MINING)
- หลักการของระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEM PRINCIPLES)
- ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง (ADVANCED DATABASE SYSTEMS)
- ฐานข้อมูลแบบกระจายและการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง (DISTRIBUTED DATABASES AND TRANSACTION PROCESSING)
- ธุรกิจอิเลคโทรนิกส์ (ELECTRONIC BUSINESS)
- การเขียนโปรแกรมเว็บ (WEB PROGRAMMING)
- เอเจนต์ (AGENTS)
- การทำเหมืองเว็บ (WEB MINING)
- การออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล (DATA WAREHOUSE DESIGN AND IMPLEMENTATION)
- ชีวสารสนเทศเบื้องต้น (INTRODUCTION TO BIOINFORMATICS)
- เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล (DATA MINING TECHNIQUES)
- การคำนวณแบบเอนเทอร์ไพรส์ (ENTERPRISE COMPUTING)
- ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารธุรกิจผู้ประกอบการ (COMPUTER SYSTEMS FOR ENTREPREEUR MANAGEMENT)
- การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ (COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS)
- การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เอ็กซ์เอ็มแอล (XML APPLICATION DEVELOPMENT)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
4. สายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกส์และมัลติมีเดีย (Graphics)
- คอมพิวเตอร์กราฟิกส์ขั้นสูง (ADVANCED COMPUTER GRAPHICS)
- ระบบมัลติมีเดีย (MULTIMEDIA SYSTEMS)
- คอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น (COMPUTER ANIMATION)
- วิชวลไลเซชั่น (VISUALIZATION)
- การประมวลผลภาพดิจิตอล (DIGITAL IMAGE PROCESSING)
- การเขียนโปรแกรมเกมส์คอมพิวเตอร์ (COMPUTING GAME PROGRAMMING)
- เรขาคณิตคณนา (COMPUTATIONAL GEOMETRY)
- การรับรู้ภาพของคอมพิวเตอร์ (COMPUTER VISION)
- ความเป็นจริงเสมือน (VIRTUAL REALITY)
- การจำลองด้วยเรขาคณิต (GEOMETRIC MODELING)
- การสื่อสารทางกราฟิกส์ (GRAPHIC COMMUNICATION)
- ระบบกราฟิกส์ (GRAPHIC SYSTEMS)
- การออกแบบโปรแกรมต่อประสานสำหรับผู้ใช้ (GUI Design)
- การโปรแกรมเกมส์บนมือถือ (MOBILE GAME PROGRAMMING)
- ปัญญาประดิษฐ์สำหรับคอมพิวเตอร์เกมส์ (ARTIFICIAL INTELLIGENCE FOR COMPUTER GAMES)
ขอบคุนมากคะ ที่ให้คำปรึกษา
ปรึกษา!! เลือกสาย computer science หน่อยคะ
ปล. ในการเลือกสายไม่จำเป็นต้องเลือกสายเดียวนะคะ สามารถเลือกเรียนวิชาของสายอื่นได้ อยากรู้ด้วยว่า ตอนนี้ที่ไทยควรที่จะต้องรู้อะไรด้วยเพื่อการประกอบอาชีพคะ
1. สายวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (CS)
- ทฤษฏีคอมไพเลอร์ (THEORY OF COMPILER)
- การจำลองแบบ (Simulation)
- ทฤษฏีออโตมาตาและโปรแกรม (AUTOMATA THEORY AND PROGRAMMING LANGUAGES)
- แบบจำลองและกรรมวิธีการวิจัยการดำเนินงาน (MODELS AND METHODS OF OPERATION RESEARCH)
- การคำนวณแบบเครือข่าย (NET CENTRIC COMPUTING)
- การคำนวณแบบไร้สายและแบบเคลื่อนที่ (WIRELESS AND MOBILE COMPUTING)
- การคำนวณแบบคลัสเตอร์ (CLUSTER COMPUTING)
- การบริหารเครือข่าย (NETWORK MANAGEMENT)
- การรักษาความปลอดภัยของเครือข่าย (NETWORK SECURITY)
- การคำนวณเชิงคอมโพเนนต์ (COMPONENT-BASED COMPUTING)
- ทฤษฏีข่าวสารและเข้ารหัส (CODING AND INFORMATION THEORY)
- การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธีขั้นสูง (ADVANCED ALGORITHM ANALYSIS AND DESIGN)
- การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะและเชิงหน้าที่ (LOGIC AND FUNCTIONAL PROGRAMMING)
- ขั้นตอนวิธีแบบขนาน (PARALLEL ALGORITHMS)
- สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ขั้นสูง (ADVANCED COMPUTER ARCHITECTURE)
- สถาปัตยกรรมคอพิวเตอร์แบบขนาน (PARALLEL COMPUTER ARCHITECTURE)
- ระบบปฏิบัติการแบบกระจาย (DISTRIBUTED OPERATING SYSTEMS)
- ขั้นตอนวิธีเชิงรหัสลับ (CRYPTOGRAPHY ALGORITHMS)
- การคำนวณแบบซอฟต์ (SOFT COMPUTING)
- ความปลอกภัยของระบบคอมพิวเตอร์ (SYSTEM SECURITY)
- การเรียนรู้ของเครื่องจักร (MACHINE LEARNING)
- การโปรแกรมระบบเครือข่าย (NETWORK PROGRAMMING)
- ระบบฝังตัวและระบบเวลาจริง (EMBEDDED AND REAL-TIME SYSTEMS)
- โครงข่ายประสาทเทียมเบื้องต้น (INTRODUCTION TO ARTIFICIAL NEURAL NETWORKS)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
3. สายวิชาพัฒนาระบบสารสนเทศ (IS)
- การสร้างคลังข้อมูลและการทำเหมืองข้อมูล (DATA WAREHOUSING AND DATA MINING)
- หลักการของระบบฐานข้อมูล (DATABASE SYSTEM PRINCIPLES)
- ระบบฐานข้อมูลขั้นสูง (ADVANCED DATABASE SYSTEMS)
- ฐานข้อมูลแบบกระจายและการประมวลผลรายการเปลี่ยนแปลง (DISTRIBUTED DATABASES AND TRANSACTION PROCESSING)
- ธุรกิจอิเลคโทรนิกส์ (ELECTRONIC BUSINESS)
- การเขียนโปรแกรมเว็บ (WEB PROGRAMMING)
- เอเจนต์ (AGENTS)
- การทำเหมืองเว็บ (WEB MINING)
- การออกแบบและพัฒนาคลังข้อมูล (DATA WAREHOUSE DESIGN AND IMPLEMENTATION)
- ชีวสารสนเทศเบื้องต้น (INTRODUCTION TO BIOINFORMATICS)
- เทคนิคการทำเหมืองข้อมูล (DATA MINING TECHNIQUES)
- การคำนวณแบบเอนเทอร์ไพรส์ (ENTERPRISE COMPUTING)
- ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารธุรกิจผู้ประกอบการ (COMPUTER SYSTEMS FOR ENTREPREEUR MANAGEMENT)
- การประยุกต์คอมพิวเตอร์ในธุรกิจ (COMPUTER APPLICATION IN BUSINESS)
- การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์เอ็กซ์เอ็มแอล (XML APPLICATION DEVELOPMENT)
[Spoil] คลิกเพื่อดูข้อความที่ซ่อนไว้
ขอบคุนมากคะ ที่ให้คำปรึกษา