ชาวรัชดาและคน ตจว.โปรดช่วยกันกระจายข่าว ไม่งั้นเดี๋ยวลืม
วันที่ 21 ต.ค. กองบังคับการตำรวจจราจร (บก.จร.) แจ้งว่าจะเริ่มใช้มาตรการยกรถแทนการล็อกล้อ
ตามแผนพัฒนาแก้ไขปัญหาจราจร โดย 10 เส้นทางหลัก ที่มีการบังคับใช้มาตรการยกรถ
ได้แก่
1.ถนนลาดพร้าว ตั้งแต่ แยกลาดพร้าว-แยกแฮปปี้แลนด์
2.ถนนพระราม 4 ตั้งแต่ แยกหัวลำโพง-แยกพระราม 4
3.ถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนนพระราม 1 ตั้งแต่ แยกบางนา- แยกพงษ์พระราม
4.ถนนรัชดาภิเษก ถนนอโศกดินแดง ถนนอโศกมนตรี ตั้งแต่ แยกประชานุกูล-แยกรัชดาพระราม 4
5.ถนนรามคำแหง ถนนพระราม 9 ถนนจตุรทิศ ตั้งแต่ แยกคลองเจ๊ก - แยกรามคาแหง -- ถนนจตุรทิศ
6.ถนนพหลโยธิน ถนนเกษตรนวมินทร์ ตั้งแต่ อนุสาวรีย์ชัย ฯ - สะพานใหม่ และ แยกเกษตรศาสตร์ - แยกนวมินทร์
7.ถนนสาทรเหนือและสาทรใต้ ตลอดสาย
8.ถนนราชดาเนิน สะพานพระปิ่นเกล้าฯ ถนนบรมราชชนนี และถนนคู่ขนานลอยฟ้า
ตั้งแต่ พระลานพระราชวังดุสิต-แยกผ่านพิภพฯ -- จนสุดเขตกรุงเทพมหานคร
9.ถนนเพชรบุรี ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ตั้งแต่ แยกอุรุพงษ์ - แยกคลองตัน
10.ถนนวิภาวดีรังสิต ตลอดสาย
โดยโครงการแก้ปัญหาจราจรในถนนสายหลัก 10 สาย ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 59
เจ้าพนักงานมีอำนาจเคลื่อนย้ายรถที่หยุดหรือจอดอยู่อันเป็นการฝ่าฝืน หรือใช้เครื่องมือบังคับไม่ให้เคลื่อนย้ายรถ
มาตรา 159 ผู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ระเบียบอัตราค่าปรับ อัตราค่าปรับหยุด/จอดรถผิดกฎหมาย 500 บาท
อัตราในการเคลื่อนย้ายรถ (กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2534)
รถบรรทุก 10 ล้อขึ้นไป คันละ 1,000 บาท
รถบรรทุก 4 ล้อ และ 6 ล้อ คันละ 700 บาท รถอื่นๆ นอกจากที่ระบุ คันละ 500 บาท
อัตราค่าเก็บรักษารถ (กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2534) รถบรรทุก 10 ล้อขึ้นไป วันละ 500 บาท
รถบรรทุก 4 ล้อ และ 6 ล้อ วันละ 300 บาท รถอื่นๆ นอกจากที่ระบุ วันละ 200 บาท
ทั้งนี้จะเริ่มใช้มาตรการยกรถแทนการล็อกล้อตามแผนพัฒนาแก้ไขปัญหาจราจร โดย 10 เส้นทางหลักที่มีการบังคับใช้มาตรการยกรถ
เริ่ม วันที่ 21 ต.ค. ดังนี้ กรุณาปฏิบัติตามกฎหมายจราจรโดยเคร่งครัด, กรณีถูกเคลื่อนย้ายรถให้รีบติดต่อสถานีตำรวจพื้นที่โดยทันที, เมื่อชำระค่าปรับหยุด/จอดรถผิดกฎหมาย ค่าเคลื่อนย้าย และค่าเก็บรักษารถ ทั้งสามส่วนเรียบร้อย จึงสามารถรับรถคืนได้
หากไม่มาติดต่อขอรับรถภายในกำหนด 3 เดือน เจ้าหน้าที่ตำรวจมีอำนาจนำรถขายทอดตลาด, นอกจากมาตรการการเคลื่อนย้ายรถแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจยังใช้มาตรการ ในการบันทึกภาพผู้กระทำผิด ส่งหมายเรียกและใบสั่งไปยังเจ้าของ หรือ ผู้ครอบครองรถ อีกส่วนหนึ่งด้วย, สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หมายเลขโทรศัพท์ 1197
รายละเอียด มาตรการ ยกรถ ที่จอดริมถนน 10 สาย เริ่ม 21 ต.ค. 2556
วันที่ 21 ต.ค. กองบังคับการตำรวจจราจร (บก.จร.) แจ้งว่าจะเริ่มใช้มาตรการยกรถแทนการล็อกล้อ
ตามแผนพัฒนาแก้ไขปัญหาจราจร โดย 10 เส้นทางหลัก ที่มีการบังคับใช้มาตรการยกรถ
ได้แก่
1.ถนนลาดพร้าว ตั้งแต่ แยกลาดพร้าว-แยกแฮปปี้แลนด์
2.ถนนพระราม 4 ตั้งแต่ แยกหัวลำโพง-แยกพระราม 4
3.ถนนสุขุมวิท ถนนเพลินจิต ถนนพระราม 1 ตั้งแต่ แยกบางนา- แยกพงษ์พระราม
4.ถนนรัชดาภิเษก ถนนอโศกดินแดง ถนนอโศกมนตรี ตั้งแต่ แยกประชานุกูล-แยกรัชดาพระราม 4
5.ถนนรามคำแหง ถนนพระราม 9 ถนนจตุรทิศ ตั้งแต่ แยกคลองเจ๊ก - แยกรามคาแหง -- ถนนจตุรทิศ
6.ถนนพหลโยธิน ถนนเกษตรนวมินทร์ ตั้งแต่ อนุสาวรีย์ชัย ฯ - สะพานใหม่ และ แยกเกษตรศาสตร์ - แยกนวมินทร์
7.ถนนสาทรเหนือและสาทรใต้ ตลอดสาย
8.ถนนราชดาเนิน สะพานพระปิ่นเกล้าฯ ถนนบรมราชชนนี และถนนคู่ขนานลอยฟ้า
ตั้งแต่ พระลานพระราชวังดุสิต-แยกผ่านพิภพฯ -- จนสุดเขตกรุงเทพมหานคร
9.ถนนเพชรบุรี ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ ตั้งแต่ แยกอุรุพงษ์ - แยกคลองตัน
10.ถนนวิภาวดีรังสิต ตลอดสาย
โดยโครงการแก้ปัญหาจราจรในถนนสายหลัก 10 สาย ตามพระราชบัญญัติจราจรทางบก พ.ศ.2522 มาตรา 59
เจ้าพนักงานมีอำนาจเคลื่อนย้ายรถที่หยุดหรือจอดอยู่อันเป็นการฝ่าฝืน หรือใช้เครื่องมือบังคับไม่ให้เคลื่อนย้ายรถ
มาตรา 159 ผู้ขัดขวางเจ้าพนักงาน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสามเดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ระเบียบอัตราค่าปรับ อัตราค่าปรับหยุด/จอดรถผิดกฎหมาย 500 บาท
อัตราในการเคลื่อนย้ายรถ (กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2534)
รถบรรทุก 10 ล้อขึ้นไป คันละ 1,000 บาท
รถบรรทุก 4 ล้อ และ 6 ล้อ คันละ 700 บาท รถอื่นๆ นอกจากที่ระบุ คันละ 500 บาท
อัตราค่าเก็บรักษารถ (กฎกระทรวง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2534) รถบรรทุก 10 ล้อขึ้นไป วันละ 500 บาท
รถบรรทุก 4 ล้อ และ 6 ล้อ วันละ 300 บาท รถอื่นๆ นอกจากที่ระบุ วันละ 200 บาท
ทั้งนี้จะเริ่มใช้มาตรการยกรถแทนการล็อกล้อตามแผนพัฒนาแก้ไขปัญหาจราจร โดย 10 เส้นทางหลักที่มีการบังคับใช้มาตรการยกรถ
เริ่ม วันที่ 21 ต.ค. ดังนี้ กรุณาปฏิบัติตามกฎหมายจราจรโดยเคร่งครัด, กรณีถูกเคลื่อนย้ายรถให้รีบติดต่อสถานีตำรวจพื้นที่โดยทันที, เมื่อชำระค่าปรับหยุด/จอดรถผิดกฎหมาย ค่าเคลื่อนย้าย และค่าเก็บรักษารถ ทั้งสามส่วนเรียบร้อย จึงสามารถรับรถคืนได้
หากไม่มาติดต่อขอรับรถภายในกำหนด 3 เดือน เจ้าหน้าที่ตำรวจมีอำนาจนำรถขายทอดตลาด, นอกจากมาตรการการเคลื่อนย้ายรถแล้ว เจ้าหน้าที่ตำรวจยังใช้มาตรการ ในการบันทึกภาพผู้กระทำผิด ส่งหมายเรียกและใบสั่งไปยังเจ้าของ หรือ ผู้ครอบครองรถ อีกส่วนหนึ่งด้วย, สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หมายเลขโทรศัพท์ 1197